ภาวะ "Burnout" ตอนที่ 1: กรณีศึกษา "ภาวะหมดไฟ" หาใช่ใจอ่อนแอ

วันที่: 24 ก.ค. 2562 11:45:31     แก้ไข: 08 ส.ค. 2562 09:27:57     เปิดอ่าน: 2,358     Blogs
ภาวะ "Burnout" กรณีศึกษา "ภาวะหมดไฟ" หาใช่ใจอ่อนแอ

สำหรับมนุษย์เงินเดือนอย่างพวกเรา คงจะมีหลายๆครั้งในชีวิตการทำงานที่รู้สึกท้อแท้ เหนื่อยล้า ไม่สบายใจ วันจันทร์ทีไรน้ำตาจะไหลทุกที อย่าเพิ่งด่วนสรุปไปว่าเป็นอาการของโรคเกลียดวันจันทร์หรือ "I hate Monday syndrome" เพราะมันอาจจะลึกล้ำกว่านั้นก็เป็นได้

เพราะความเครียดเรื้อรังจากการทำงานไม่ใช่เรื่องเล่นๆ เมื่อ WHO องค์การอนามัยโลกได้จัดให้ "Burnout" หรือ "ภาวะหมดไฟ" เป็นหนึ่งในกลุ่มอาการของภาวะความอ่อนล้าชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากความเครียดเรื้อรังที่มาจากการทำงาน โดยผู้ที่อยู่ในภาวะนี้จะมีภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปในทั้งในด้านอารมณ์ เช่น เคร่งเครียด เหนื่อยล้าตลอดเวลา (Exhaustion) เริ่มมีพฤติกรรมในทางลบในการปฏิบัติงาน (Cynicism) และประเมินผลงานตนเองในด้านลบ (Professional inefficiency) ซึ่ง”ภาวะหมดไฟ”นี้ ย่อมจะนำพาให้ผู้ที่ตกอยู่ในภาวะนี้เกิดปัญหาในการทำงาน และทำงานผิดพลาดอยู่บ่อยครั้ง จนทำให้เกิดความเครียด ความท้อแท้ใจ และไม่สามารถทำงานต่อไปได้ในที่สุด

ซึ่งแต่เดิมพอมีใครซักคนบ่นว่าเริ่มหมดไฟ เราในฐานะเพื่อนร่วมงานหรือหัวหน้างานมักจะปลอบใจกันไปว่า "เอาน่า สู้ๆ อดทนหน่อย" หรือพาลมองว่าคนที่คิดเช่นนี้เป็นคนอ่อนแอ ไม่มีความอดทนไปซะได้ แต่รู้หรือไม่ว่าตัวเราเองก็อาจจะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คนอื่นในองค์กรอยู่ใน "ภาวะหมดไฟ" ได้เช่นกัน เพราะจากการศึกษาพบว่านอกจาก "Internal factor" แล้ว "External factor" เช่น สภาวะแวดล้อมในที่ทำงาน เพื่อนร่วมงาน หัวหน้างานและวัฒนธรรมองค์กร ก็เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้พนักงานตกอยู่ใน "ภาวะหมดไฟ" ได้เป็นอย่างมาก

เมื่อ "ภาวะหมดไฟ" ไม่ใช่ "โรค" ถ้าเพื่อนร่วมงานหรือลูกน้องมาบอกเราว่าตอนนี้อยู่ในภาวะ Burnout เราควรทำอย่างไร
ก่อนอื่นอย่าเพิ่งตัดสินใครว่าใจอ่อนแอ อย่าเพิ่งรีบด่วนแนะนำให้ไปนั่งสมาธิ

ถ้าเรายังไม่เข้าใจว่าสิ่งที่เค้ากำลังเผชิญหน้าอยู่ตอนนี้คืออะไร
เพราะสิ่งสำคัญในการแก้ปัญหาภาวะนี้คือ "Empathy" หรือความเห็นอกเห็นใจ

ซึ่งจะนำพาให้เราเข้าใจในปัญหาและรู้สาเหตุของภาวะนั้นได้อย่างแท้จริง

และอย่างที่บอกไปในข้างต้นว่า ภาวะหมดไฟนี้ External Factor มีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก ลองพิจารณาตัวเราเองด้วยว่า เราเองนั้นมีสถานะเป็น "มลพิษ" ที่มีส่วนสร้างสภาวะอันเป็นพิษในที่ทำงานจนทำให้ลูกน้องหรือคนรอบข้างนั้นตกอยู่ในอาการ Burnout หรือไม่
เราจึงควรช่วยกันสร้างภาวะคุ้มกัน หรือ Team culture ที่มี Empathy เพื่อเป็นวัคซีนในการป้องกัน เพราะสุดท้าย ถ้าองค์กรใดมีพนักงานผู้อยู่ในภาวะหมดไฟ มากขึ้นในทุกวัน ภาวะนั้นคงลุกลามมาจนทำร้ายจนองค์กรให้อยู่ในภาวะ Burnout จนกลายเป็นองค์กรที่ไร้ประสิทธิภาพไปในสักวัน

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

4 วิธีสร้าง Work-Life Balance  แถมยังได้งานในช่วงวิกฤต สาเหตุที่ Work-Life Balance ของคนทำงานจะเปลี่ยนไปจากเดิมนั้น เพราะวิกฤตเศรษฐกิจในครั้งนี้ กำลังคืบคลานเข้ามา และแน่นอนว่าจะสร้างผลกระทบกับชีวิตการทำงานแต่ละคนไม่มากก็น้อย แล้วพนักงานต้องทำอย่างไร? ต้องโหมทำงานจนละเลยชีวิตตัวเองหรือไม่? มาดู 4 แนวทางที่จะช่วยสร้างให้สมดุลชีวิตและงานยังคงอยู่กัน
4 วิธีสร้าง Work-Life Balance แถมยังได้งานในช่วงวิกฤต

สาเหตุที่ Work-Life Balance ของคนทำงานจะเปลี่ยนไปจากเดิมนั้น เพราะวิกฤตเศรษฐกิจในครั้งนี้ กำลังคืบคลานเข้ามา และแน่นอนว่าจะสร้างผลกระทบกับชีวิตการทำงานแต่ละคนไม่มากก็น้อย แล้วพนักงานต้องทำอย่างไร? ต้องโหมทำงานจนละเลยชีวิตตัวเองหรือไม่? มาดู 4 แนวทางที่จะช่วยสร้างให้สมดุลชีวิตและงานยังคงอยู่กัน

7 ปัจจัย ฉุดผลประกอบการ ที่ผู้บริหารคาดไม่ถึง  เมื่อใดประเทศประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ มักจะกระทบต่อองค์กรด้วย ทำให้ผลประกอบการตกลง ซึ่งเมื่อต้องอธิบายว่าทำไมผลประกอบการต่ำลง ก็จะได้รับคำตอบเหมือนเดิมทุกครั้งคือ “ เศรษฐกิจไม่ดี” แต่สังเกตหรือไม่ว่า ในช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจแย่ แต่ก็มีบางบริษัทที่ผลประกอบการ ไม่ได้แย่ตามไปด้วย เพราะความจริงแล้วภาวะเศรษฐกิจไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่กระทบผลประกอบการ แต่มันมีปัจจัยอื่นๆภายในองค์กรด้วย และปัจจัยเหล่านี้มักจะถูกมองข้ามไป นั่นคือ
7 ปัจจัย ฉุดผลประกอบการ ที่ผู้บริหารคาดไม่ถึง

เมื่อใดประเทศประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ มักจะกระทบต่อองค์กรด้วย ทำให้ผลประกอบการตกลง ซึ่งเมื่อต้องอธิบายว่าทำไมผลประกอบการต่ำลง ก็จะได้รับคำตอบเหมือนเดิมทุกครั้งคือ “ เศรษฐกิจไม่ดี” แต่สังเกตหรือไม่ว่า ในช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจแย่ แต่ก็มีบางบริษัทที่ผลประกอบการ ไม่ได้แย่ตามไปด้วย เพราะความจริงแล้วภาวะเศรษฐกิจไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่กระทบผลประกอบการ แต่มันมีปัจจัยอื่นๆภายในองค์กรด้วย และปัจจัยเหล่านี้มักจะถูกมองข้ามไป นั่นคือ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ