สาเหตุของการ Burnout นั้น ทาง Havard Business Review (HBR) พบว่า สาเหตุหลักๆ เกิดจาก
1. งานหนักเกินกว่าตัวเองรับไหว
2. รู้สึกว่าตัวเองไร้อำนาจในการควบคุมสถานการณ์ต่างๆ
3. รู้สึกว่าไม่มีคนยอมรับงานของตัวเอง
4. รู้สึกว่า บรรยากาศความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงานแย่เหลือเกิน
5. รู้สึกว่าหัวหน้าไม่แฟร์
6. รู้สึกว่าตัวเองมีค่านิยมส่วนตัว (personal values) ต่างจากหัวหน้ามากไป
สรุปคือ เราจะ burnout เมื่อมี "ทัศนคติ" หรือ ความคิดและความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในที่ทำงาน จนทำให้ไม่อยากทำงานและหดหู่แบบเรื้อรัง
และข้อสังเกตคือ ทั้ง 6 ข้อ เกิดจากความคิดและความรู้สึกของตนเอง จึงอาจจะมีทั้งความจริงและไม่จริงปนกันไป
ดังนั้น การหมั่นสังเกตตัวเอง เริ่มรู้ตัวให้เร็ว และตั้งสติ ปรับความคิดแต่เนิ่นๆ ก่อน จึงเป็นอีกทางที่ช่วยได้ ก่อนจะหาวิธีแก้ไขปัญหาเหล่านั้น
เพราะ ถ้ารอให้คนอื่นมาช่วยจัดการแก้ไขให้ความรู้สึกนี้หมดไป คงเกิดภาวะ burnout หรือ ใจมอดไหม้ ไปแล้วและยากที่จะแก้ไขได้
สรุปเนื้อหาและ Key Takeaways ที่น่าสนใจจากงานมินิเวิร์คชอป Leading with Purpose โดย อ. คม สุวรรณพิมล เกี่ยวกับ การพัฒนาผู้นำให้สอดคล้องกับ Organizational Purpose ซึ่งในปัจจุบัน เป็นสิ่งที่ทำให้องค์กรได้ทบทวนถึงเหตุผลในการคงอยู่ของธุรกิจไม่ว่าจะเป็น คุณค่าที่ส่งมอบ ผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนกระบวนการทั้งหมดขององค์กรเองว่าได้สอดคล้องกับความมุ่งหวังที่แท้จริงมากน้อยเพียงใด
AI (Artificial Intelligence) หรือ ปัญญาประดิษฐ์ เป็นองค์ประกอบสำคัญของเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจมากขึ้นในช่วงสมัยสมัยใหม่ ด้วยความสามารถในการจำลองและสร้างความคิดเห็นเชิงปัญญาที่มีความเป็นมนุษย์ได้ การพัฒนา AI ได้เกิดแนวคิดและเทคนิคหลายแบบเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อนและจำลองกระบวนการคิดของมนุษย์ได้ ดังนั้นเราสามารถแบ่งประเภทของ AI ได้เป็นระดับต่อไปนี้
ประชุม online ให้ได้ประสิทธิภาพ จากคำแนะนำของนักวิจัยและที่ปรึกษาด้านผู้นำ Havard Business Review ครับ กดที่ภาพเพื่อดู infographic แบบเต็มๆ นะครับ
อลัน มูลัลลี่ คือ อดีต CEO ของ Ford Motor ผู้เคยบริหารงานจนพลิกวิกฤตของ Boeing ได้นำวิธีการบริหารที่ประสบความสำเร็จมาใช้ หนึ่งในนั้นคือวิธีการประชุม Business Plan Review ที่มีกฎ 10 ประการ เพื่อให้พนักงานได้เป็นส่วนหนึ่งของทีมและมุ่งหาผลลัพธ์ร่วมกันอย่างแท้จริง
การเลือกจะผลัดวันประกันพรุ่งนี่แหละ ที่ทำให้งานของคุณจะยิ่งยากและใช้เวลาจัดการกับนานขึ้น โดยเฉพาะ "งานเล็กๆ น้อยๆ" แถมในบางครั้ง งานเดิมก็กลับงอกมาภายหลังจนเป็นอุปสรรคเสียเอง การบริหารเวลาแบบ OHIO จึงแนะนำวิธีจัดการเวลา โดย
เทคนิคการบริหารเวลาแบบ Pomodoroนี้ ถูกพัฒนาจาก ฟรานเชสโก้ ซีริลโล (Francesco Cirillo) ช่วงยุค '80 มันคือวิธีการเดียวกับการแบ่งสลอตเวลาออกเป็นช่วงๆ แล้วโฟกัสกับงานให้ได้ จนกว่าเวลาที่แบ่งจะหมดลง โดยวิธีการ คือ