เมื่อ “Hate speech” คำนินทา ไม่ใช่แค่ดราม่าในออฟฟิศ (ตอนที่ 2)
“วาจาคืออาวุธ จงใช้อาวุธให้ตัวเราเองรอดพ้นจากอันตรายแต่อย่าใช้มันเพื่อทำร้ายคนอื่น”
จาก Episode ที่ผ่านมาเราได้เรียนรู้ไปแล้วว่า “Attitude”เริ่มต้นของชนชาวนินทาบุรีเป็นเช่นไร
เมื่อ Attitude นำมาซึ่งพฤติกรรม และพฤติกรรมการนินทานำมาซึ่งความร้าวฉาน โดยเฉพาะออฟฟิศใดอุดมไปด้วยชาวนินทาบุรี รอยแยกที่มีจะยิ่งชัดเจน
เมื่อมีการแบ่งแยกที่ใด ที่นั่นย่อมไม่มีคำว่า Teamwork
คำนินทาไม่ใช่แค่ดราม่าในออฟฟิศ มีชาวนินทาบุรีที่ใด ที่นั่นมักจะไร้ Engagement
เพราะการนินทานำมาซึ่งความไม่ไว้วางใจ
และเมื่อ Trust ถูกทำลาย Engagement ภายในองค์กรก็ยิ่งเสื่อมถอย
องค์กรใดไร้ Engagement ก็เปรียบเสมือนคนอยู่บ้านเดียวกันแต่ไม่เข้าใจและไม่สื่อสารกัน
บทสรุปขององค์กรนี้เป็นอย่างไรนั้นคงไม่ต้องให้ทาย ถ้าผลงานดีได้ย่อมถือว่ามีบุญเก่า
เมื่อ Attitude เป็นตัวการในการก่อปัญหา
การทำงานแบบ Hybrid Working หัวหน้าหลายคนอาจต้องการให้ทีมมี Productivity ไม่น้อยกว่าช่วงทำงานออฟฟิศ แต่การ monitor ที่เพิ่มขึ้น แทนที่จะทำให้เกิด Productivity อาจทำให้ทีมงานรู้สึกว่า หัวหน้าจู้จี้ หรือเป็น Micromanagement Boss มากกว่าเดิม ถ้าคุณอยู่ในบทบาทหัวหน้า มาลองสังเกตตัวเองกันว่า เราเข้าใกล้การเป็น Micromanagement Boss กันแล้วหรือยังจากคำถามเหล่านี้
"คนเราทุกวันนี้ ดีแต่ส่องกระจกด้านหน้า แต่เพียงด้านเดียว ให้เอากระจกหกด้าน มาส่องเสียบ้าง แล้วจะเห็นเอง" สมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) แล้วเกี่ยวยังไงกับการทำงาน?? เพราะ ชีวิตการทำงานของเรา ก็จำเป็นต้องส่อง กระจก 6 ด้านเหมือนกันครับ เพื่อให้มุมมองที่รอบด้านและทำให้ชีวิตเราดีขึ้น ซึ่งกระจกทั้ง 6 ด้านก็คือ
อันที่จริง ผลกระทบของปัญหาต่างๆ ที่เราเผชิญอยู่นั้น ส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจาก "ความเขลา" อย่างที่ หลายๆ คน คิดนะครับ แต่เกิดจาก "ความไม่รู้" หรือ ไม่มีข้อมูลในการจัดการกับ "สถานการณ์" ที่เกิดขึ้น เมื่อไม่สามารถจัดการได้ "สถานการณ์"นั้น จึงเป็น "ปัญหา" "ความไม่รู้" โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นจาก 4 ด้านนี้ครับ
"ถ้าอธิบายปัญหาได้ชัดเจน เท่ากับแก้ปัญหาไปได้แล้วครึ่งหนึ่ง" จอห์น ดิวอี้ นักปรัชญาชาวอเมริกันได้ว่าไว้แบบนั้น โชคดีอย่างมากเช่นกัน ที่ในยุคปัจจุบันคำอธิบายปัญหาเหล่านั้น อยู่ในรูปแบบของ "ข้อมูลดิจิทัล"
แนวคิด หยิน-หยาง นี้เชื่อว่า พลังต่างๆ ในจักรวาลนั้นมี 2 ด้าน คือ หยิน และ หยาง ซึ่งเป็นพลังงานสองขั้วที่ตรงข้ามกัน ดังนั้น ในเครื่องหมายหยินหยางนั้น จึงมีสีตรงข้ามกัน คือ ดำ และ ขาว ดังนั้นในการรับมือความเปลี่ยนแปลงแบบแนวคิดเต๋า ก็มีสองด้านครับ นั่นคือ
การที่เราจะมีอิทธิพลต่อผู้อื่นได้นั้น สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้เลย คือ คุณจะต้องมีอำนาจบางอย่างที่ทำให้สามารถโน้มน้าว หรือ ต่อรอง ซึ่ง French และ Raven บอกว่าคุณจะต้องสร้างฐานของอำนาจจาก 5 ด้านนี้