Sinking of The TITANIC EP.2

วันที่: 16 เม.ย. 2563 13:23:07     แก้ไข: 16 ก.ค. 2563 11:05:21     เปิดอ่าน: 789     Blogs
Sinking of The TITANIC EP.2 เราเป็นลูกน้องแบบไหนในวันเรือแตก
.
“พอให้ Work from home ก็บ่น อยากเข้าออฟฟิศ พอให้เข้าออฟฟิศก็บ่นกลัวโควิด เอาใจไม่ถูกละ”
.
“ถามแต่ว่าบริษัทจะรอดไม่รอด ถ้าบอกไม่รอดแล้วยังไงดี ถามจนเครียดละเนี่ย”
.
“ ตอนนี้ทีมทำงานโอเคมากกว่าตอนปกติอีก ตกลงกันแล้วว่าทุกคนสู้ด้วยกัน”
.
เพราะในภาวะวิกฤติผู้นำย่อมต้องรับมือกับสถานการณ์หลายหลาก
ในวันที่เรือชนภูเขาน้ำแข็งก้อนใหญ่ที่ชื่อว่า Covid-19
ทัศนคติของคนที่มีต่อวิกฤติเป็นเรื่องสำคัญและส่งผลต่อพฤติกรรมในการทำงานอย่างที่สุด
.
ข้าพเจ้าเองนั้นได้มีโอกาสผ่านวิกฤติเรือแตกมา ทั้งในมุมมองของการเป็นลูกน้องและลูกพี่
.
เชื่อหรือไม่ว่าในเวลาที่ยากลำบากที่สุด เราจะมีโอกาสได้เห็นความเป็น “เพชร”ในน้องบางคน
.
ที่ในเวลาปกติดูเป็นคนธรรมดา แต่ในเวลาองค์กรลำบากกลับโดดเด่นด้วยทัศนคติที่สู้ไม่ถอย
.
แต่ในบางคนทัศนคติที่แสดงออกมาถึงการพร้อมหนีเอาตัวรอดตลอดเวลา
.
จนเราแอบคิดในใจว่า ถ้าผ่านเหตุการณ์นี้ไปยังลังเลใจที่จะใช้คำว่าเคยร่วมงานกัน
.
เพราะถ้าองค์กรที่เปรียบเสมือนเรือลำใหญ่เช่น TITANIC แม้จะเคยมีความยิ่งใหญ่มาเพียงใด
.
เมื่อพุ่งปะทะชนความท้าทายอย่างภูเขาน้ำแข็ง ที่หัวหน้าวางแผนดี สื่อสารยอดเพียงใด
.
แต่ทัศนคติของลูกเรือคือ #รจตกม เราจะตายกันหมด ก็คงต้องนั่งรอวันจมลงไปกับเรือ
.
เมื่อเพื่อนๆหรือน้องๆถามข้าพเจ้าว่า คิดอย่างไรดีจึงจะผ่านช่วงวิกฤติไปได้
.
ข้าพเจ้าขอไม่ใช้คำว่า คิดบวก แต่อยากให้ทุกๆท่านคิดอย่างเหมาะสม
หัวหน้ามีหน้าที่บริหารจัดการวิกฤติและสื่อสารให้ทีมงานเข้าใจ สู้ไปในทิศทางที่ดีที่สุด ก็ทำไป
.
ลูกน้องก็ย่อมมีหน้าที่วิ่งไปในทิศทางที่กำหนดและสื่อสารกลับเพื่อให้มั่นใจว่า ไปถึงเป้าหมายแน่ๆ
.
เมื่อต่างคนต่างทำตามหน้าที่ ด้วยทัศนคติที่ว่า #รจมต เราจะไม่ตาย
แม้ผลลัพธ์สุดท้าย ต้องสละ TITANIC ลงเรือชูชีพพร้อมกันก็ไม่เป็นไร เพราะสุดท้ายเราได้ทำ “ดีที่สุด” เท่าที่เราทำได้และไม่มีสิ่งใดต้องเสียใจที่ได้เคยผ่านช่วงวิกฤตินี้ไปด้วยกัน
.
Content by Aj. Luckana
Image: Pixabay
---------------------------------
ย้อนอ่าน Sinking of The TITANIC EP.1 เรามีหัวหน้าแบบไหนในวันที่เรือชนภูเขาน้ำแข็ง ที่ https://bit.ly/2JETeNm
---------------------------------
#CoachForGoalArticle #CFG
สร้างทัศนคติการทำงานให้ดีขึ้นในทุกวันแบบง่ายๆ
---------------------------------
รายละเอียดโปรแแกรมพัฒนาบุคลากรองค์กรที่
www.coachforgoal.com
.
ด่วน ! ติดตามบทความ Exclusive สำหรับคนทำงานได้ ที่ Linkedin

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

Human Leadership หัวหน้าต้องนำผู้คนอย่างไรในยุคการเปลี่ยนแปลงที่ซับซ้อนนี้ องค์ประกอบสามด้าน ของ Human Leadership ที่ทาง Gartner นิยามไว้เพื่อให้หัวหน้าได้เป็นผู้นำที่มีความเป็นมนุษย์ และดึงศักยภาพของคนในทีมให้พร้อมรับการเปลื่ยนแปลงที่ซับซ้อนขึ้นอย่างทุกวันนี้ได้ครับ
Human Leadership หัวหน้าต้องนำผู้คนอย่างไรในยุคการเปลี่ยนแปลงที่ซับซ้อนนี้

องค์ประกอบสามด้าน ของ Human Leadership ที่ทาง Gartner นิยามไว้เพื่อให้หัวหน้าได้เป็นผู้นำที่มีความเป็นมนุษย์ และดึงศักยภาพของคนในทีมให้พร้อมรับการเปลื่ยนแปลงที่ซับซ้อนขึ้นอย่างทุกวันนี้ได้ครับ

Empathy สร้างได้ แค่ฝึกใช้ทักษะเหล่านี้ Empathy หรือ ความเข้าอกเข้าใจคนอื่น เป็น Soft Skill ที่จำเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ไม่ว่าจะออกแบบผลิตภัณฑ์ ก็ต้องเข้าใจลูกค้า จะเป็นหัวหน้า ก็ต้องเข้าใจลูกน้อง จะมีพวกพ้อง ก็ต้องรู้ใจคน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี แต่คำถาม คือ แล้วต้องทำยังไงล่ะ? วิธีการง่ายๆ ที่เริ่มได้ทันที ก็คือ
Empathy สร้างได้ แค่ฝึกใช้ทักษะเหล่านี้

Empathy หรือ ความเข้าอกเข้าใจคนอื่น เป็น Soft Skill ที่จำเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ไม่ว่าจะออกแบบผลิตภัณฑ์ ก็ต้องเข้าใจลูกค้า จะเป็นหัวหน้า ก็ต้องเข้าใจลูกน้อง จะมีพวกพ้อง ก็ต้องรู้ใจคน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี แต่คำถาม คือ แล้วต้องทำยังไงล่ะ? วิธีการง่ายๆ ที่เริ่มได้ทันที ก็คือ

Pakinson
Pakinson's Law เวลาที่มีไม่เคยพอ เพราะเราจะรอจนถึง Deadline New

Parkinson's Law ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับโรคร้าย แต่ความหมายของมันคือ “Work expands so as to fill the time available for its completion.” หรือว่าง่ายๆ เวลามีมากแค่ไหน สุดท้ายก็ทำงานเสร็จตอน deadline อยู่ดี ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่คิดแบบนี้ คุณโดน Pakinson's Law จ้องเล่นอยู่ครับ

Quiet Quitting ไม่ใช่เป็นเทรนด์ แต่จริงๆ มีมานานแล้ว ช่วงสองสามสัปดาห์ที่ผ่านมา คำนี้เป็นกระแสในโลกโซเชี่ยลอย่างรวดเร็ว จนทำให้สื่อดังๆ หลายที่ตีข่าววิธีการทำงานแบบใหม่นี้ว่าเป็นเทรนด์ของคนทำงานยุคใหม่ แต่อ่านไปอ่านมาชักคุ้นๆ ว่า การทำงานแบบนี้ก็มีมานานแล้วในบ้านเรา แค่มันไม่โก้หรูและดูเป็นลบมากกว่า นั่นคือ
Quiet Quitting ไม่ใช่เป็นเทรนด์ แต่จริงๆ มีมานานแล้ว

ช่วงสองสามสัปดาห์ที่ผ่านมา คำนี้เป็นกระแสในโลกโซเชี่ยลอย่างรวดเร็ว จนทำให้สื่อดังๆ หลายที่ตีข่าววิธีการทำงานแบบใหม่นี้ว่าเป็นเทรนด์ของคนทำงานยุคใหม่ แต่อ่านไปอ่านมาชักคุ้นๆ ว่า การทำงานแบบนี้ก็มีมานานแล้วในบ้านเรา แค่มันไม่โก้หรูและดูเป็นลบมากกว่า นั่นคือ

World Economic Forum แนะนำ หัวหน้าแบบไหน ? ถึงได้ใจพนักงานยุคใหม่ ในการประชุมประจำปีของ World Economic Forum เองได้เคยพูดถึงประเด็นเหล่านี้ไว้แล้วครับ เพียงแต่ช่วงนั้นโลกของเรายังวุ่นๆ กับการรับมือปัญหาของโลกที่ยิ่งใหญ่กว่าอย่าง Covid-19 จึงทำให้เรื่องนี้ไม่ถูกพูดถึงมากนัก ประเด็นที่ท้าทาย คือ เด็กรุ่นใหม่ๆ ที่เข้าสู่ตลาดแรงงานนั้นจะมีความแตกต่างจากรุ่นใหญ่ในองค์กรมากเลย แม้แต่รุ่นก่อนหน้าเค้าแค่รุ่นเดียวก็ตาม ไม่ว่าจะโดนมองว่าไม่ทุ่มเท ไม่อดทน หรือ แม้แต่ เปลี่ยนงานบ่อย
World Economic Forum แนะนำ หัวหน้าแบบไหน ? ถึงได้ใจพนักงานยุคใหม่

ในการประชุมประจำปีของ World Economic Forum เองได้เคยพูดถึงประเด็นเหล่านี้ไว้แล้วครับ เพียงแต่ช่วงนั้นโลกของเรายังวุ่นๆ กับการรับมือปัญหาของโลกที่ยิ่งใหญ่กว่าอย่าง Covid-19 จึงทำให้เรื่องนี้ไม่ถูกพูดถึงมากนัก ประเด็นที่ท้าทาย คือ เด็กรุ่นใหม่ๆ ที่เข้าสู่ตลาดแรงงานนั้นจะมีความแตกต่างจากรุ่นใหญ่ในองค์กรมากเลย แม้แต่รุ่นก่อนหน้าเค้าแค่รุ่นเดียวก็ตาม ไม่ว่าจะโดนมองว่าไม่ทุ่มเท ไม่อดทน หรือ แม้แต่ เปลี่ยนงานบ่อย

ผลการสำรวจ  3 สิ่งสำคัญในการบริหารคน ที่ทาง Gartner ระบุว่าผู้บริหารด้านคน (CHRO) ต้องไม่ลืม ทั้งสามด้านนี้ คือ สิ่งสำคัญลำดับแรกๆ ที่ทาง Gartner ได้สำรวจกับกลุ่ม HR และระบุว่าเป็นสิ่งที่ผู้บริหารด้านคน หรือ Chief Human Resources Offeicer (CHRO) ต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่งยวด ทาง Coach For Goal เรา จึงนำแนวทางนี้ มาปรับเพื่อให้เกิดแนวทางในการพัฒนาพนักงานขององค์กรที่ครอบคลุมมากขึ้น นั่นคือ การสื่อสารให้พนักงานได้เข้าใจถึงแรงกดดันทั้งสามด้านที่เกิดขึ้นกับองค์กร ไม่ว่าจะเป็น การสร้างทุกคนให้เป็นคนเก่ง การสร้าง mindset ที่พร้อมปรับตัวในทุกสภา่วะ และ การสร้างประสิทธิภาพในการทำงานแต่ละวัน
ผลการสำรวจ 3 สิ่งสำคัญในการบริหารคน ที่ทาง Gartner ระบุว่าผู้บริหารด้านคน (CHRO) ต้องไม่ลืม

ทั้งสามด้านนี้ คือ สิ่งสำคัญลำดับแรกๆ ที่ทาง Gartner ได้สำรวจกับกลุ่ม HR และระบุว่าเป็นสิ่งที่ผู้บริหารด้านคน หรือ Chief Human Resources Offeicer (CHRO) ต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่งยวด ทาง Coach For Goal เรา จึงนำแนวทางนี้ มาปรับเพื่อให้เกิดแนวทางในการพัฒนาพนักงานขององค์กรที่ครอบคลุมมากขึ้น นั่นคือ การสื่อสารให้พนักงานได้เข้าใจถึงแรงกดดันทั้งสามด้านที่เกิดขึ้นกับองค์กร ไม่ว่าจะเป็น การสร้างทุกคนให้เป็นคนเก่ง การสร้าง mindset ที่พร้อมปรับตัวในทุกสภา่วะ และ การสร้างประสิทธิภาพในการทำงานแต่ละวัน