ภาวะ “Boreout Syndrome”

วันที่: 04 ก.พ. 2563 16:37:00     แก้ไข: 21 ก.ค. 2563 16:00:14     เปิดอ่าน: 2,359     Blogs
ภาวะ “Boreout Syndrome” กรณีศึกษา “ภาวะเบื่องาน” เมื่องานน้อยไป ใจจึงอ่อนแรง

ก่อนหน้านี้เราได้เรียนรู้ภาวะหมดไฟ หรือ “Burnout” และ “Brownout” กันไปแล้ว

แต่เชื่อหรือไม่ว่านอกจากงานหนักและภาวะตึงเครียดที่ทำให้คนหมดไฟและหมดใจ
งานที่น้อยเกินไปและไม่ท้าท
ายก็สามารถทำให้เกิดภาวะถดถอยในการทำงานได้เช่นกัน

“Boreout Syndrome” เป็นภาวะของการเบื่อในงานที่ทำ รู้สึกว่างานที่ทำไม่มีคุณค่
ไม่ตอบสนองและส่งเสริมศักยภ
าพที่มีอยู่ของตนเอง หรืออาจจะเรียกว่าขาดแรงบันดาลใจ
ในการทำงานก็ย่อมได้
ผลกระทบที่มีต่องานนั้นไม่ประจักษ์เป็นเชิงลบในระยะสั้นเพราะประสิทธิภาพที่มีต่องานนั้นๆไม่แย่ลง
แต่ภาวะของตนรวมถึงทัศนคติที่
มีต่องานต่างหากที่เปลี่ยนแปลงไปในทางลบ
ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อทั้งงา
นและสุขภาพจิตของตนได้ในระยะยาว

“Boreout Syndrome” แก้ได้ด้วย Performance Feedback และ Communication

เมื่อเกิดภาวะนี้ขึ้นกับตัวเราเอง ขอให้พิจารณาหาสาเหตุของปัญหาว่าเกิดจากสิ่งใด

ถ้างานที่ทำไม่ท้าทายหรือน้อยเกินไป ไม่เหมาะสมกับศักยภาพที่เรามี ก็ขอให้ลองคุย
กับหัวหน้างาน
โดยตรงว่าเห็นพ้องต้องกันหรือไม่ หาใช่เราคิดไปเองฝ่ายเดียว
ถ้าพิจารณาแล้วพบว่า งานที่มีอยู่น้อยเกินไปจริง
 หัวหน้าสามารถมอบหมายงานอื่นๆ
เพิ่มเติมเพื่อหาความท้าท
ายใหม่ๆในการงานให้แก่เราเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหานี้ให้ลุล่วงไป

สำหรับผู้ที่เป็นหัวหน้างาน การทำ Performance Feedback และ สื่อสารกันอยู่เสมอ
โดยไม่ต้องรอถึงการประเมินก
ลางปีและสิ้นปี ย่อมช่วยให้จับสังเกตุและแก้อาการดังกล่าว
ได้ก่อนเกิดปั
ญหา เพราะทุกภาวะที่ก่อให้เกิดปัญหาในการทำงานไม่ว่าจะเป็น Boreout, Burnout
และ Brownout ก่อนที่จะเกิดอาการย่อมมีสั
ญญาน และถ้าเราสามารถที่จะตรวจจับอาการได้ก่อนเกิดโรค
ย่อมดีกว่าการแก้เมื่อเกิดโ
รค ดังคำกล่าวที่ว่า การป้องกันย่อมดีกว่าการรักษา ภาวะ Syndrome ต่างๆ
ในการทำงานก็เช่นกัน

Next Episode: Performance feedback และ Communication อย่างไร ให้ทีมไปไกลกว่าที่คาด

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ

บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่?
ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง
บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก

หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่? ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง

Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้
Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด

Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้