ร่วมกันขจัดโรคซึมเศร้าในที่ทำงาน

วันที่: 05 ก.พ. 2563 10:18:38     แก้ไข: 21 ก.ค. 2563 15:59:24     เปิดอ่าน: 1,739     Blogs
ชีวิตยังมีพรุ่งนี้เสมอ กรณีศึกษาโรคซึมเศร้า เมื่อคุณค่าของชีวิตเราไม่เท่ากัน

เวลาที่เราได้เห็นข่าวคนปลิดชิวิตตนเองจากปัญหาโรคซึมเศร้า “เรา” ในฐานะคนธรรมดา

ก็มักจะคิดว่า ทำไมและเพราะอะไรถึงได้ตัดสินใจแบบนี้ ทำไมไม่คิดถึงวันข้างหน้า
ชีวิตมันก็เป็นแบบนี้มีความ
ทุกข์ด้วยกันทุกคน ทำไมไม่สู้ ทำแบบนี้คนข้างหลังจะอยู่อย่างไร

คำถามมากมายเกิดขึ้นในใจแล้ว”เรา”ก็ลืมเลือนมันไป
ในความเป็นมนุษย์นั้น การรักชีวิตตนเองนั้นเป็นที่ยิ่ง แต่ผู้ที่ประเมินตนว่าคุณค่าของชีวิตตนต่ำกว่าศูนย์นั้นการจะทำร้ายตนเองได้จึงไม่ใช่เรื่องใหญ่และสำหรับผู้ที่อยู่ในภาวะซึมเศร้านั้น การประเมินมูลค่าตนเองต่ำกว่าศูนย์นั้นเป็นเรื่องปกติ

เพราะค่ามาตรฐานของการมีชีวิตอยู่ของ “เรา” ไม่เท่ากัน และคำว่า ”เรา”ในโลกของคนที่อยู่ในภาวะซึมเศร้านั้นไม่มีอยู่จริง สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้านั้นค่ามาตรฐานของความสุขในการมีชีวิตอยู่ แทบจะเป็นศูนย์ และในโลกของผู้อยู่ในภาวะซึมเศร้านั้น คำว่า “เรา” คือตัวเราเพียงลำพัง

เมื่อไม่อาจเข้าใจว่าโลกของผู้ป่วยซึมเศร้าเป็นเช่นไร แต่ในฐานะเพื่อนร่วมงานและหัวหน้างาน สิ่งที่เราจะช่วยได้เพื่อให้คำว่า “เรา” เกิดขึ้นจริงได้ในโลกของผู้ที่อยู่ในภาวะซึมเศร้า คือความเข้าใจ เมื่อสัญญาณของการเข้าสู่ภาวะซึมเศร้านั้นแสดงออกมาด้วยพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ทั้งในแง่ของผลงานและภาวะส่วนตัว อย่าเมินเฉย อย่าปล่อยผ่านเพราะสัญญาณอาจแสดงออกมาเพียงครั้งเดียว

และเราอาจมีโอกาสเพียงครั้งเดียวเช่นกันที่จะเข้าใจและช่วยเหลือได้ทัน
การรับฟังด้วยความเข้าใจและไม่ตัดสินเป็นการสร้างสื่อสารเพื่อสร้างความเป็น “เรา”

เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในภาวะโรคซึมเศร้าได้ นอกเหนือจากการรักษาที่ถูกต้องทางการแพทย์ การอยู่เคียงข้างและรับฟังด้วยความเข้าใจนั้นคือการยอมรับในคุณค่าที่มอบให้กัน

เพราะแม้ในวันที่คิดว่าชีวิตไม่เหลือใคร แต่อย่างน้อยหากมีใครซักคนที่สามารถเข้าใจ “เรา”ได้

อาจช่วยยืดเวลาต่อไป ให้ชีวิตมีวันพรุ่งนี้ได้ ช่วยกันลดจำนวนข่าวร้ายในที่ทำงาน เพราะคงไม่มีใครอยากให้คนที่อยู่ในข่าว เป็นคนที่นั่งทำงานข้างเรา และสุดท้ายต้องเสียใจที่สุดท้าย ไม่อาจช่วยอะไรได้แม้แต่การรับฟัง

#เพราะชีวิตยังมีพรุ่งนี้เสมอ ไม่ว่าใครก็ช่วยให้เกิดวันพรุ่งนี้ได้ ด้วยการไม่ปล่อยผ่าน
#เพราะถ้าคุณอยู่ในภาวะซึมเศร้า “เรา” คือเพื่อนกัน

Content by แอดอ้วน ผู้เข้าใจและอยู่กับโรคซึมเศร้ามาได้อย่างสันติ
 

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ

บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่?
ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง
บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก

หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่? ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง

Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้
Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด

Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้