กฎ 10 ประการในการประชุมแบบ อลัน มูลัลลี่ (Allan Mulally)

วันที่: 22 มิ.ย. 2566 16:35:09     แก้ไข: 26 มิ.ย. 2566 13:28:10     เปิดอ่าน: 208     Blogs
อลัน มูลัลลี่ คือ อดีต CEO ของ Ford Motor ผู้เคยบริหารงานจนพลิกวิกฤตของ Boeing ได้นำวิธีการบริหารที่ประสบความสำเร็จมาใช้ หนึ่งในนั้นคือวิธีการประชุม Business Plan Review ที่มีกฎ 10 ประการ เพื่อให้พนักงานได้เป็นส่วนหนึ่งของทีมและมุ่งหาผลลัพธ์ร่วมกันอย่างแท้จริง

ในช่วงแรกที่เขาบริหารงานที่ฟอร์ด รูปแบบการประชุมเพื่อทบทวนแผนธุรกิจด้วยวิธีการแบบใหม่นั้น ไม่ว่ามูลัลลี่พยายามถามอย่างไร คนในทีมก็ยังไม่เชื่อมั่น และทุกคนยังคงนำเสนอผลงานแต่แง่ดี และไม่แจ้งปัญหาใดๆ เนื่องจากกลัวว่าจะกระทบต่อหน้าที่การงานของตัวเอง

มูลัลลี่ พยายามอยู่หลายสัปดาห์ จนกระทั่งมีคนในทีมคนหนึ่ง เริ่มที่จะเผยว่า อันที่จริงปัญหาในงาน ก็มีอยู่บ้าง พร้อมเผยถึงข้อมูลที่แดงเถือก ต่างจากคนอื่นๆ 

เขาสบโอกาส จึงได้ทำการชมเชย ที่ทีมงานคนนั้น ว่ามีความสามารถในการมองปัญหาได้ออก และบอกว่า นี่จะเป็นสิ่งที่ทำให้ฟอร์ดปรับแก้ และก้าวไปสู่ความเป็นหนึ่งทางด้านยานยนต์ได้ 

เขากล่าวกับทีมงานคนนั้นว่า "การที่มีปัญหา ไม่ได้แปลว่าคุณแย่เลย แต่ตัวปัญหาต่างหากที่แย่ และเราทุกคนมีหน้าที่จะต้องช่วยกันจัดการมัน เพื่อฝ่าฟันปัญหานั้น"

เมื่อทีมงานเริ่มเห็นถึงบรรยากาศที่ปลอดภัยในการนำเสนอปัญหาตามความเป็นจริงแล้ว ทัศนคติในการประชุมจึงเริ่มดีขึ้นเรื่อยๆ 

ท้ายที่สุดการประชุมเพื่อทบทวนผลกระทบ จึงนำไปสู่แก้ปัญหาหลายๆ เรื่อง สร้างโอกาสให้ทีมช่วยกันปรับปรุงงานให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป

แม้ว่าวันเวลาจะผ่านไป แต่วิธีการประชุมในแบบมูลัลลี่ ก็ยังคงใช้ได้ในปัจจุบัน
 
และทุกคนที่เป็นผู้นำต้องรู้จักวิธีการปรับบรรยากาศ การประชุมให้เกิดประโยชน์ให้ได้มากที่สุด และไม่ควรทำให้การประชุมเป็นเพียงพิธีกรรมที่เสียเวลาไปอย่างเปล่าประโยชน์นะครับ

บทความและภาพกราฟฟิค โดย

Aniruth Tulsuk (อนิรุทธิ์ ตุลสุข)
Sr. Consultant & Facilitator-CFG 
 
M.A. Industial and Organizaional Psychology, Thammasat University
Former Learning & Development Manager, FMCG/Property
Interesting Areas:
Startup Business, Leadership Development, Behavioral Change,Trait & Personality, Visual Thinking
 

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

Key Takeaways จาก Leading with Purpose Mini-Workshop สรุปเนื้อหาและ Key Takeaways ที่น่าสนใจจากงานมินิเวิร์คชอป Leading with Purpose โดย อ. คม สุวรรณพิมล เกี่ยวกับ การพัฒนาผู้นำให้สอดคล้องกับ Organizational Purpose ซึ่งในปัจจุบัน เป็นสิ่งที่ทำให้องค์กรได้ทบทวนถึงเหตุผลในการคงอยู่ของธุรกิจไม่ว่าจะเป็น คุณค่าที่ส่งมอบ ผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนกระบวนการทั้งหมดขององค์กรเองว่าได้สอดคล้องกับความมุ่งหวังที่แท้จริงมากน้อยเพียงใด
Key Takeaways จาก Leading with Purpose Mini-Workshop

สรุปเนื้อหาและ Key Takeaways ที่น่าสนใจจากงานมินิเวิร์คชอป Leading with Purpose โดย อ. คม สุวรรณพิมล เกี่ยวกับ การพัฒนาผู้นำให้สอดคล้องกับ Organizational Purpose ซึ่งในปัจจุบัน เป็นสิ่งที่ทำให้องค์กรได้ทบทวนถึงเหตุผลในการคงอยู่ของธุรกิจไม่ว่าจะเป็น คุณค่าที่ส่งมอบ ผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนกระบวนการทั้งหมดขององค์กรเองว่าได้สอดคล้องกับความมุ่งหวังที่แท้จริงมากน้อยเพียงใด

มารู้จัก A.I. แบบเข้าใจง่าย ใน 1 หน้ากระดาษ AI (Artificial Intelligence) หรือ ปัญญาประดิษฐ์ เป็นองค์ประกอบสำคัญของเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจมากขึ้นในช่วงสมัยสมัยใหม่ ด้วยความสามารถในการจำลองและสร้างความคิดเห็นเชิงปัญญาที่มีความเป็นมนุษย์ได้ การพัฒนา AI ได้เกิดแนวคิดและเทคนิคหลายแบบเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อนและจำลองกระบวนการคิดของมนุษย์ได้ ดังนั้นเราสามารถแบ่งประเภทของ AI ได้เป็นระดับต่อไปนี้
มารู้จัก A.I. แบบเข้าใจง่าย ใน 1 หน้ากระดาษ

AI (Artificial Intelligence) หรือ ปัญญาประดิษฐ์ เป็นองค์ประกอบสำคัญของเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจมากขึ้นในช่วงสมัยสมัยใหม่ ด้วยความสามารถในการจำลองและสร้างความคิดเห็นเชิงปัญญาที่มีความเป็นมนุษย์ได้ การพัฒนา AI ได้เกิดแนวคิดและเทคนิคหลายแบบเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อนและจำลองกระบวนการคิดของมนุษย์ได้ ดังนั้นเราสามารถแบ่งประเภทของ AI ได้เป็นระดับต่อไปนี้

ประชุม online ให้ได้ประสิทธิภาพ จากคำแนะนำของ  Havard Business Review ประชุม online ให้ได้ประสิทธิภาพ จากคำแนะนำของนักวิจัยและที่ปรึกษาด้านผู้นำ Havard Business Review ครับ
กดที่ภาพเพื่อดู infographic แบบเต็มๆ นะครับ
ประชุม online ให้ได้ประสิทธิภาพ จากคำแนะนำของ Havard Business Review

ประชุม online ให้ได้ประสิทธิภาพ จากคำแนะนำของนักวิจัยและที่ปรึกษาด้านผู้นำ Havard Business Review ครับ กดที่ภาพเพื่อดู infographic แบบเต็มๆ นะครับ

บริหารเวลาเป็น จะไม่เห็นดินพอกหางหมู ด้วยเทคนิค ​OHIO  การเลือกจะผลัดวันประกันพรุ่งนี่แหละ ที่ทำให้งานของคุณจะยิ่งยากและใช้เวลาจัดการกับนานขึ้น โดยเฉพาะ "งานเล็กๆ น้อยๆ" แถมในบางครั้ง งานเดิมก็กลับงอกมาภายหลังจนเป็นอุปสรรคเสียเอง การบริหารเวลาแบบ OHIO จึงแนะนำวิธีจัดการเวลา โดย
บริหารเวลาเป็น จะไม่เห็นดินพอกหางหมู ด้วยเทคนิค ​OHIO

การเลือกจะผลัดวันประกันพรุ่งนี่แหละ ที่ทำให้งานของคุณจะยิ่งยากและใช้เวลาจัดการกับนานขึ้น โดยเฉพาะ "งานเล็กๆ น้อยๆ" แถมในบางครั้ง งานเดิมก็กลับงอกมาภายหลังจนเป็นอุปสรรคเสียเอง การบริหารเวลาแบบ OHIO จึงแนะนำวิธีจัดการเวลา โดย

บริหารเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเทคนิค  POMODORO  เทคนิคการบริหารเวลาแบบ Pomodoroนี้ ถูกพัฒนาจาก ฟรานเชสโก้ ซีริลโล (Francesco Cirillo) ช่วงยุค
บริหารเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเทคนิค POMODORO

เทคนิคการบริหารเวลาแบบ Pomodoroนี้ ถูกพัฒนาจาก ฟรานเชสโก้ ซีริลโล (Francesco Cirillo) ช่วงยุค '80 มันคือวิธีการเดียวกับการแบ่งสลอตเวลาออกเป็นช่วงๆ แล้วโฟกัสกับงานให้ได้ จนกว่าเวลาที่แบ่งจะหมดลง โดยวิธีการ คือ

ประชุมแบบไหน ถึงให้ได้ผลลัพธ์แบบผู้บริหาร การประชุมหลายครั้ง ทำเหมือนเป็นธรรมเนียม แถมจบแล้วเหมือนไม่ได้บทสรุป จนรู้สึกว่าเสียเวลาฟรีๆ ถ้าเช่นนั้น มาลองเอาเทคนิคของผู้บริหารระดับโลกชื่อดังอย่าง Jeff Bezos , Elon Musk,  Richard Branson, Larry Page ไปใช้หน่อยดีไหม?
ประชุมแบบไหน ถึงให้ได้ผลลัพธ์แบบผู้บริหาร

การประชุมหลายครั้ง ทำเหมือนเป็นธรรมเนียม แถมจบแล้วเหมือนไม่ได้บทสรุป จนรู้สึกว่าเสียเวลาฟรีๆ ถ้าเช่นนั้น มาลองเอาเทคนิคของผู้บริหารระดับโลกชื่อดังอย่าง Jeff Bezos , Elon Musk, Richard Branson, Larry Page ไปใช้หน่อยดีไหม?