![]() |
Aniruth Tulsuk (อนิรุทธิ์ ตุลสุข)
Sr. Consultant & Facilitator-CFG
M.A. Industial and Organizaional Psychology, Thammasat University
Former Learning & Development Manager, FMCG/Property Interesting Areas:
Startup Business, Leadership Development, Behavioral Change,Trait & Personality, Visual Thinking |
"คนเราทุกวันนี้ ดีแต่ส่องกระจกด้านหน้า แต่เพียงด้านเดียว ให้เอากระจกหกด้าน มาส่องเสียบ้าง แล้วจะเห็นเอง" สมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) แล้วเกี่ยวยังไงกับการทำงาน?? เพราะ ชีวิตการทำงานของเรา ก็จำเป็นต้องส่อง กระจก 6 ด้านเหมือนกันครับ เพื่อให้มุมมองที่รอบด้านและทำให้ชีวิตเราดีขึ้น ซึ่งกระจกทั้ง 6 ด้านก็คือ
อันที่จริง ผลกระทบของปัญหาต่างๆ ที่เราเผชิญอยู่นั้น ส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจาก "ความเขลา" อย่างที่ หลายๆ คน คิดนะครับ แต่เกิดจาก "ความไม่รู้" หรือ ไม่มีข้อมูลในการจัดการกับ "สถานการณ์" ที่เกิดขึ้น เมื่อไม่สามารถจัดการได้ "สถานการณ์"นั้น จึงเป็น "ปัญหา" "ความไม่รู้" โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นจาก 4 ด้านนี้ครับ
"ถ้าอธิบายปัญหาได้ชัดเจน เท่ากับแก้ปัญหาไปได้แล้วครึ่งหนึ่ง" จอห์น ดิวอี้ นักปรัชญาชาวอเมริกันได้ว่าไว้แบบนั้น โชคดีอย่างมากเช่นกัน ที่ในยุคปัจจุบันคำอธิบายปัญหาเหล่านั้น อยู่ในรูปแบบของ "ข้อมูลดิจิทัล"
แนวคิด หยิน-หยาง นี้เชื่อว่า พลังต่างๆ ในจักรวาลนั้นมี 2 ด้าน คือ หยิน และ หยาง ซึ่งเป็นพลังงานสองขั้วที่ตรงข้ามกัน ดังนั้น ในเครื่องหมายหยินหยางนั้น จึงมีสีตรงข้ามกัน คือ ดำ และ ขาว ดังนั้นในการรับมือความเปลี่ยนแปลงแบบแนวคิดเต๋า ก็มีสองด้านครับ นั่นคือ
การที่เราจะมีอิทธิพลต่อผู้อื่นได้นั้น สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้เลย คือ คุณจะต้องมีอำนาจบางอย่างที่ทำให้สามารถโน้มน้าว หรือ ต่อรอง ซึ่ง French และ Raven บอกว่าคุณจะต้องสร้างฐานของอำนาจจาก 5 ด้านนี้
feedback ก็คือ ข้อมูลย้อนกลับทุกๆ อย่างที่เกิดขึ้นหลังการกระทำเสมอ เพียงแต่ว่าถ้าเราอยากให้ feedback นั้น มีพลัง และนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้นั้น feedback ดังกล่าวจะต้องประกอบไปด้วย "เจตนาที่ดี" เป็นสารตั้งต้นครับ