5 คำถามวัดนิสัย ดูว่าคุณใกล้เป็น หัวหน้า Micromangement หรือยัง? New

วันที่: 12 เม.ย. 2565 15:34:47     แก้ไข: 27 เม.ย. 2565 09:46:08     เปิดอ่าน: 1,437     Blogs
Micromanagement คืออะไร?
มันก็คือการบริหารงานในแต่ละวันของหัวหน้า ที่ลงรายละเอียด ยิบย่อยมากจนเกินไป โดยที่เจตนาอาจจะเพื่อการควบคุมไม่ให้งานเกิดความผิดพลาด เช่น การติดตามทุกกระบวนการขั้นตอน จนบางครั้งเป็นความจู้จี้จุกจิกเกินความจำเป็น

การทำงานแบบ Hybrid Working ที่ทีมงานต้องห่างไกลกัน หัวหน้าหลายคนอาจต้องการให้ทีมมี Productivity ไม่น้อยกว่าช่วงทำงานออฟฟิศ แต่การ monitor ที่เพิ่มขึ้น แทนที่จะทำให้เกิด Productivity อาจทำให้ทีมงานรู้สึกว่า หัวหน้าจู้จี้ หรือเป็น Micromanagement Boss มากกว่าเดิม

ถ้าคุณอยู่ในบทบาทหัวหน้า มาลองสังเกตตัวเองกันว่า เราเข้าใกล้การเป็น Micromanagement Boss กันแล้วหรือยังจากคำถามเหล่านี้
 
  1. คุณรู้สึก กังวล หรือ สงสัยบ่อยๆ ว่า ลูกน้องได้ทำงานหรือเปล่า  (ไม่ว่าคิดในใจ หรือ พูดออกมา)
  2. คุณมักให้ลูกน้อง แจ้งความคืบหน้าทุกอย่าง ทุกสเต็ป 
  3. คุณแอบส่อง record การทำงานเสมอ เพื่อให้ชัวร์ว่าลูกน้องได้ทำตามที่สั่งไว้ (ไม่ว่าจะเป็นระบบบันทึกการทำงาน ไลน์  อีเมล์ หรือ facebook น้องๆ)
  4. คุณรู้สึกว่าต้องจำกัดอำนาจการดำเนินงาน หรือ อิสระในการทำงานของทีมงาน เพื่อให้ตัวเองได้มีส่วนร่วมคิดและรู้เห็นในทุกๆ เรื่องที่ลูกน้องจะทำ
  5. คุณรู้สึกไม่ค่อยอยากมอบหมายงานให้ลูกน้อง เพราะไม่เชื่อใจว่าพวกเขาจะทำมันได้ (โดยเฉพาะในช่วงวิกฤตแบบนี้)

สังเกตไหมครับว่า ทุกข้อที่ว่ามามันเหมือนเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำมากขึ้น ในช่วงที่ทีมงานต้องห่างกัน ในแบบ WFH หรือ Hybrid working ก็ตาม แต่ทำแค่ไหน ที่จะไม่เรียกจู้จี้ ก็คงต้องดูที่ปฎิกริยาของทีมงานด้วยครับ

ถ้าบรรยากาศทีมมีความตึงเครียด อึดอัดเกิดขึ้น แสดงว่า สิ่งที่หัวหน้าทำอาจมากเกินไป  และหัวหน้าต้องมีวิธีผ่อนคลายพฤติกรรมดังกล่าว และ motivate ทีมงานในแบบอื่นๆ ร่วมด้วยนะครับ

ไม่เช่นนั้น แทนที่จะสร้าง "productivity" จะกลายเป็น "สร้างความจู้จี้" จากพฤติกรรมแบบ Micromanagement แทนได้

หมั่นสังเกตบรรยากาศทีมงานกันดีๆ นะครับ โดยเฉพาะในช่วงที่ต้องทำงานไกลกันแบบทุกวันนี้

บทความโดย

Aniruth Tulsuk (อนิรุทธิ์ ตุลสุข)
Sr. Consultant & Facilitator-CFG 
 
M.A. Industial and Organizaional Psychology, Thammasat University
Former Learning & Development Manager, FMCG/Property
Interesting Areas:
Startup Business, Leadership Development, Behavioral Change,Trait & Personality, Visual Thinking
 
อ้างอิง : Photo: freepix.com

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ

บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่?
ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง
บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก

หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่? ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง

Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้
Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด

Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้