6 พฤติกรรม เมื่อหัวหน้า เริ่มอิจฉาผลงานลูกน้อง

วันที่: 17 มี.ค. 2565 14:19:26     แก้ไข: 23 มิ.ย. 2565 20:29:09     เปิดอ่าน: 1,882     Blogs
การชอบเปรียบเทียบเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าสถานการณ์นี้ดันมาเกิดในที่ทำงานล่ะ จะเป็นยังไง
แถมเกิดกับใครไม่เกิดมาเกิดกับบอสตัวเอง ซึ่งเป็นคนที่คงไม่มีใครอยากจะไปต่อล้อต่อเถียงด้วย คงอึดอัดพิลึก

งานวิจัยบอกว่า เมื่อ "บอสที่รัก" ของคุณ เกิดรู้สึกว่าตัวเองด้อยกว่า หลายๆคน ก็จะเกิดความอิจฉา และการกระทำที่ตามมาจะมีสองแบบใหญ่ คือ

#แบบแรก: พฤติกรรมแบบไม่เป็นภัย เจ้านายหลายๆ คน อาจแสดงออก ในแบบเล่นมุกจิกกัดตัวเองให้ขำๆ แถมจะเน้นย้ำว่างานของคุณเลิศเลอ เว่อวัง ในแบบนี้ คุณอาจไม่ได้รับผลกระทบเท่าไร เต็มที่ก็คงแค่เขินๆ กับคำชมบ้าง แค่นั้น

#แบบที่สอง : พฤติกรรมแบบเป็นภัย ในเลเวลนี้ พฤติกรรมที่แสดงออก ของบอสคุณ จะมีหลายระดับ เช่น

1. มักจะวิพากษ์วิจารณ์ ต่อว่างานของคุณ แม้ว่าคนอื่นจะชื่นชมหรือยกย่องแค่ไหนก็ตาม
2. มักจะพูดขัดคอในการประชุมบ่อยๆ ไม่เห็นด้วยกับไอเดีย ประมาณ "คหสต นะ พี่ว่าความคิด เธอยังไม่โอเคนะ"
3. ด้อยค่างานของคุณต่อหน้าคนอื่นๆ เช่น "แม้ว่างานนี้เธอจะทำได้ดี และได้รับคำชมมากมาย แต่.... ยังมีจุดบกพร่อง และ...พี่ว่าเราโชคดีที่จุดนั้นไม่มีคนสังเกต"
4. เมินเฉย เย็นชา ทำเสมือนคุณไม่มีตัวตนในทีมงาน และเวลาสนทนา เขา (หรือ เธอ) ก็จะทำเป็นพูดกับลูกรักแท้ๆ ทดแทนการมีตัวตนของเรา
5. รู้สึกยินดีเวลาที่คุณพลาด และจะไม่พลาดในการซ้ำเติมทันที
6. มักมอบหมายงาน หรือ โครงการที่ไม่มีใครอยากจะทำให้เสมอ โดยเฉพาะหากงานนั้น มีโอกาสที่จะพลาดสูง

พฤติกรรมเหล่านี้ เกิดเพราะว่า เขารู้สึกว่า คุณไม่คู่ควรกับการยอมรับที่ได้มา และความสำเร็จของคุณเป็นสิ่งที่คุกคามตัวเขา ไม่ว่าจะเป็นอนาคตในการทำงานที่คุณอาจก้าวหน้ากว่า หรือ ศรัทธาที่อาจเปลี่ยนทางไปหาคุณมากกว่าตัวเอง

สั้นๆง่ายๆ คือ แสงของสปอร์ตไลต์ ดันไปส่องอีกคนนั่นเอง นี่แหละครับ ที่มาของหัวหน้าที่เริ่มอิจฉาผลงานคุณ ผมหวังว่า แฟนเพจเรา คงไม่มีใครโชคร้าย ไปเจอบอสแนวนี้กันนะครับ แต่ว่า ถ้าบังเอิ๊ญ ถูกหวยรางวัลที่หนึ่ง พบเจอ หัวหน้าทำนองนี้

ลองคิดมาฝึกกันเล่น ๆ ไหมครับว่า เราจะทำอย่างไร ถ้าตกอยู่ในสถานการณ์นี้?

แล้วเดี๋ยวเรามาดูเฉลยกันในโพสหน้าครับ
Aniruth Tulsuk (อนิรุทธิ์ ตุลสุข)
Sr. Consultant & Facilitator-CFG 
 
M.A. Industial and Organizaional Psychology, Thammasat University
Former Learning & Development Manager, FMCG/Property
Interesting Areas:
Startup Business, Leadership Development, Behavioral Change,Trait & Personality, Visual Thinking
 

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ

บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่?
ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง
บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก

หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่? ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง

Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้
Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด

Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้