ประชุมอย่างไร? ให้ไม่เป็นภาระของทีม New

วันที่: 31 ม.ค. 2564 21:45:14     แก้ไข: 20 ก.พ. 2564 20:20:36     เปิดอ่าน: 3,046     Blogs
การประชุมทีมงาน เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการทำงาน เพราะเป็นช่องทางให้ทีมงาน ทั้งผู้นำและผู้ตามได้มีเวทีในการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อให้เกิดการตัดสินใจที่รวดเร็ว และจัดการอุปสรรคที่ขวางทางไม่ให้ทีมงานบรรลุเป้าหมาย

แม้ว่าหลายคนจะรู้สึกเบื่อหน่าย เพราะรู้สึกว่าเวลาทำงานหายไป เพราะการประชุมทุกสัปดาห์ก็ตาม แต่ข้อเสียนั่น เป็นเพราะเราประชุมกันไม่ถูกวิธีมากกว่า

ประเด็นจึงอยู่ที่ว่า จะทำอย่างไรให้ประชุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผมมี guideline ให้ดังนี้ครับ

 
ควรทำ  ไม่ควรทำ
มีกำหนดการ (Agenda)ที่ชัดเจน
เพิ่มวาระการประชุมแบบมิได้นัดหมาย หรือ แตกประเด็นที่ไม่จำเป็น
มีการส่งข้อมูลที่จำเป็นเพื่อให้สมาชิกในทีมศึกษาก่อน 
ไม่เตรียมตัวล่วงหน้า อ่านเอกสาร หรือ ด้นสด ในการประชุม
มาแลกเปลี่ยนความคิดและหาทางแก้ปัญหา
นำสไลด์ หรือ ข้อมูลจำนวนมากมาคุยในที่ประชุม
ใช้เวลา 10-15 นาที บอกที่มาที่ไป และสิ่งที่ต้องตัดสินใจ
ประชุมแบบไร้จุดหมาย หรือคุยในเรื่องที่ไม่จำเป็นต่อการตัดสินใจ 
พยายามฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ผู้นำครอบงำการประชุม หรือสร้างบรรยากาศแห่งความกล้ว
ใช้คำที่เข้าใจได้ง่าย ตรงกัน
ใช้คำศัพท์ที่คลุมเครือ ยากต่อความเข้าใจ
สรุปผล และขั้นตอนต่อไปที่ต้องทำ (Next Step) 
ไม่สรุปประเด็นว่า ควรทำสิ่งใดต่อ หรือ ต้องจัดการอะไรในครั้งต่อไป
ช่วยกันแบ่ง กำหนดหน้าที่รับผิดชอบ และ deadline ให้ชัดเจน
ผู้นำแจกจ่ายงานด้วยตัวเองทั้งหมด จนคนอื่นๆ ไม่มีส่วนร่วม

นี่เป็นคำแนะนำพื้นฐาน สำหรับการประชุมทีม ในแต่ละสัปดาห์นะครับ โดยทั่วไป พยายามให้เวลาการประชุมอยู่ประมาณ 1 - 1.5 ช.ม. ก็เป็นเวลาที่พอเหมาะครับ และผู้นำควรเป็นคนที่เริ่มเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและบรรยากาศการประชุมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะถ้าเวลาถูกเผาไปกับการประชุมที่ไม่ได้ผลลัพธ์อะไร

แทนที่การประชุมจะช่วยให้ทีมทำงานได้เร็วขึ้น กลับจะกลายเป็นลูกตุ้มที่ถ่วงขาให้ทีมเดินหน้าทำงานได้ช้า และไม่เต็มที่เปล่าๆ ครับ

บทความโดย

Aniruth Tulsuk (อนิรุทธิ์ ตุลสุข)
Sr. Consultant & Facilitator-CFG 
 
M.A. Industial and Organizaional Psychology, Thammasat University
Former Learning & Development Manager, FMCG/Property
Interesting Areas:
Startup Business, Leadership Development, Behavioral Change,Trait & Personality, Visual Thinking
   

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ

บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่?
ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง
บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก

หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่? ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง

Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้
Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด

Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้