รู้จักว่า เว็บ 3.0 คืออะไร แบบง่ายๆและเห็นภาพ

วันที่: 17 มี.ค. 2565 16:30:45     แก้ไข: 17 มี.ค. 2565 16:30:45     เปิดอ่าน: 128     Blogs
Web 3.0 คืออะไร? เห็นใครๆ ก็พูดกัน
.
สถานการณ์ (Situation) รอบตัวเรามีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ทั้ง รวดเร็ว ผันผวน แต่คนส่วนใหญ่ไม่รู้ตัวหรอกครับ เพราะว่ามันเปลี่ยนไปอย่างไร้รอยต่อ

รู้สึกตัวอีกที ก็ได้รับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงแล้ว

อย่าง Web 3.0 ก็เหมือนกัน พอเห็นคำนี้ ก็เล่นเอางงว่า แล้ว web 1.0 มันมาตอนไหน? หน้าตาเป็นไง?

มันก็เป็นการเข้าเครือข่าย internet แล้วพิมพ์ www เหมือนกันหมด

หลักง่ายๆ ในการแบ่งยุค web คือ ลักษณะการทำงานของ web ครับ

ยุคแรก web 1.0 การทำงานคือ แค่ #แสดงผลข้อมูล ให้ผู้ใช้งานอย่างเราๆ ได้ อ่านข้อมูลนั้น ส่วนคนที่จะแก้ไขมันได้ก็คือ คนเขียนเว็บ

ยุคนี้จำง่ายๆ ว่าเป็นยุค internet บูม แล้วไปจบที่ยุค Y2K (มีใครทันยุคนี้เหมือนผมไหม?)

ยุคนี้ หรือ web 2.0 ผู้ใช้งานจะสามารถโต้ตอบกับเว็บไซต์ได้มากขึ้น คือ #ทั้งอ่านข้อมูลและใส่ข้อมูลบางอย่างได้ โต้ตอบกับเว็บได้

แต่ว่า ข้อมูลของเราจะอยู่ที่ผู้ให้บริการที่เป็นตัวกลางนะครับ เช่น facebook แม้ว่าเราจะรู้สึกว่าข้อมูลเป็นของเราแต่ทุกอย่างเราให้คำยินยอมไปแล้ว และเขาก็เก็บข้อมูลไว้ใช้งานเรียบร้อย

ยุคหน้า web 3.0 ตรงนี้ คำจำกัดความมีสองแนวทาง คือ

แนวทางเดิมนั้น จะยึดหลักเทคโนโลยีที่เป็นองค์ประกอบของ web นั้นคือ มีการใช้ AI เข้ามาช่วยในการทำงาน เช่น SIRI ของ Apple หรือ Alexa ของ Amazon (ที่ไม่ใช่อะมอนเซ)

แต่ต่อมา นิยามของ web 3.0 เน้นที่ #การไม่มีตัวกลาง (เช่น บ. Meta ของ facebook) เมื่อไม่มีคนกลาง เราก็มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลที่เป็นของเราจริงๆ และมีสิทธิในข้อมูลของตัวเองมากขึ้น
web ในยุคนี้ จึงมีการนำเทคโนโลยีอย่าง blockchain เข้ามาใช้

เรื่องพวกนี้ ถามว่าจะรู้ไปทำไม? อันที่จริงจะรู้ก็ดี ไม่รู้ก็ได้ครับ

แต่คนที่หัดสังเกตสถานการณ์ (Situation) และบริบท (Context) รอบๆตัวไว้ จะทำให้เรามอง Challenge ที่กำลังจะเกิด ว่ามีผลกระทบ (Impact) อะไรบ้างต่องานบ้าง

สังเกตก่อน รู้ก่อน ปรับตัวก่อน ใครไวกว่าก็ได้เปรียบครับ

ติดตามข่าวสาร update สถานการณ์เชิงลึก เพื่อพัฒนาการทำงานให้ทันยุคอนาคต

บทความโดย

Aniruth Tulsuk (อนิรุทธิ์ ตุลสุข)
Sr. Consultant & Facilitator-CFG 
 
M.A. Industial and Organizaional Psychology, Thammasat University
Former Learning & Development Manager, FMCG/Property
Interesting Areas:
Startup Business, Leadership Development, Behavioral Change,Trait & Personality, Visual Thinking
 

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ

บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่?
ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง
บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก

หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่? ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง

Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้
Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด

Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้