เมื่อปลาเร็วกินปลาช้า หัวหน้าต้องปรับตัวอะไรบ้าง?

วันที่: 05 ก.พ. 2563 12:01:06     แก้ไข: 21 ก.ค. 2563 15:55:40     เปิดอ่าน: 3,328     Blogs
ปัจจุบัน เรามาถึงยุคที่ "ปลาเร็วกินปลาช้า" แล้วครับ

ยุคนี้ เป็นทั้งโอกาสและวิกฤติ เพราะ ทุกธุรกิจ หรือ "ปลาทุกขนาด"
สามารถเติบโตได้ ถ้ามี "ความเร็ว" ในการปรับตัวที่เพียงพอ
ยิ่งถ้าเร็วและแม่นยำ ก็จะทำให้องค์กรว่ายผ่านคลื่
นแห่งการเปลี่ยนแปลง
ได้อย่
างราบรื่นไม่ถูกพัดหายไป กับ Disruption ที่ถาโถมเข้ามา

แน่นอนว่า ในสถานการณ์นี้ องค์กรไม่สามารถรอผลงานของทีมงานได้เนิ่นนานแบบยุคก่อนแล้ว

ความคาดหวังและงานหลักของหัวหน้าทีมจึงเปลี่ยนไป
เพราะนอกจากองค์กรต้องการหั
วหน้าที่พาทีมไปสู่เป้าหมายแล้ว
ยังต้องการ หัวหน้าที่เป็น "ปลาเร็ว" ที่ต้องวิ่งไปด้วยอัตราเร่ง
อย่างรวดเร็วด้วย

ทำไมหัวหน้าหลายคนไม่สามารถเป็น "ปลาเร็ว" ได้ล่ะ?
ทั้งๆ ที่หลายคน วางแผนได้อย่างดี กลยุทธ์ยอดเยี่ยมด้วยซ้ำ

สาเหตุหลักๆ เกิดจาก สิ่งเล็กๆ นิดเดียวเองครับ นั่นคือ
นอกจากหน้าที่ข้างต้นแล้วหั
วหน้าต้อง "สื่อสารให้เป็น" ด้วย แค่นี้เองครับ

ซึ่งปัญหาเหล่านี้ มักเกิดที่ 3 จุด ใหญ่ๆ คือ

1. #Goal ไม่สามารถสื่อสารให้ลูกทีมเห็นภาพเป้าหมายในหัวได้ชัดเจนเท่าที่ตัวเองเห็น
ยิ่งไปกว่านั้น บางคนให้แค่ข้อมูล ตัวเลขอย่างเดียว ซึ่งอาจแห้งแล้งเกินไป
และไม่สามารถสร้างพลังใจให้
สมาชิกของทีมพร้อมออกตัวไปสู่เป้าหมายที่วางไว้อย่างเต็มใจได้

2. #Feedback บางคนไม่รู้วิธีการสื่อสาร ที่จะเร่งวงจรของการเรียนรู้ของทีม (Learning Loop)
บ้างก็รอจนถึงฤดูการประเมิน
ผลงาน ซึ่งอาจจะช้าเกินไปสำหรับการปรับแก้สิ่งต่างๆ ให้ทันสถานการณ์

การสื่อสารที่สร้างให้เกิด Feedback culture จึงทำให้การปรับปรุงการทำงา
ทันเวลา ตรงประเด็น และปรับแก้จุดติดขัดที่อาจเ
ป็นอุปสรรคต่อการไปสู่เป้าหมายได้รวดเร็วกว่าเดิม

3. #Meeting การประชุมหลายครั้ง ทำแล้วไม่ได้ผลลัพธ์ บ่อยครั้งที่งานเดินหน้าช้ากว่าที่ควรจะเป็น
เพราะประชุมทีไร มักจบด้วยความว่างเปล่า นอกจากเสียเวลาในงานแล้ว ยังไม่ได้ next step
ของงานที่ประชุมกันอีก กลายเป็นเสียของแบบซ้ำซ้อน

การจะเป็น "ปลาเร็ว" ได้ ต้องรับมือการประชุมให้เป็น และคุมทิศทางการประชุม
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องก
ารให้ได้

และสำคัญที่สุด ต้องมี Mindset ของการเป็น "ปลาเร็ว"!

PerformanceSPRINT (Public Workshop) ของ Coach For Goal จึงมุ่งที่การพัฒนา
กระบวนกา
รสื่อสารที่สำคัญของหัวหน้า ทั้ง 3 ด้านหลักๆ และให้เครื่องมือต่างๆ
เพื่อให้เกิดการ sprint ที่ถูกทิศทาง และเพิ่มความรวดเร็วของการส
ร้าง Performance ให้กับทีมงาน

หลักสูตรนี้เหมาะกับหัวหน้าทุกท่านที่ต้องการปรับจูนสปีดของการทำงาน
ให้ไปถึงเป้าหมายได้รวดเร็ว
ยิ่งกว่าเดิมครับ

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ

บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่?
ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง
บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก

หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่? ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง

Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้
Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด

Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้