Thailand RESET, Business RESTART เช็คความพร้อมทีมงาน เพื่อสร้าง Results ให้องค์กร

วันที่: 31 พ.ค. 2565 15:53:16     แก้ไข: 31 พ.ค. 2565 19:47:11     เปิดอ่าน: 814     Blogs

 



กว่าสองปี ที่เราต้องอยู่ในภาวะลักปิดลักเปิด ธุรกิจเปิดได้บ้างไม่ได้บ้าง ตอนนี้ ประเทศไทยของเรากำลัง Reset กฎระเบียบต่างๆ ให้กลับมาเป็นสถานการณ์ปกติดังเดิมแล้ว เพราะ วันที่ 1 มิถุนายน นี้ คือ วัน "เปิดประเทศ" อย่างสมบูรณ์แบบครับ

สิ่งที่ทุกธุรกิจต้องทำ คือ Restart ตัวเอง หัวหน้าต้องพาทีมพุ่งทะยาน ไปสร้าง Results หรือ ผลลัพธ์ในธุรกิจให้กลับมาอย่างเป็นรูปธรรมแล้ว

หากใครยังจำ webinar ในช่วงแรก ๆ ของเราได้ อ. คม สุวรรณพิมล เคยบอกไว้แล้วว่า จริงๆ แล้ว เราไม่ได้สู้กับวิฤตของโรคภัยไข้เจ็บเท่านั้น แต่มันยังมี Challenges อีกมากมาย ที่โดนสถานการณ์ไวรัสบดบังไว้มากมาย ภายใต้ยุคของ VUCA World
 
โลกยังเป็นแบบนั้นครับ เราอาจสบายใจได้เปาะหนึ่งว่าวิกฤตใหญ่ที่มีมากว่า 2 ปี เบาลง แต่เป้าหมายของการ Restart ครั้งนี้ คงไม่ใช่เพื่อให้องค์กรกลับไปเหมือนเดิมแน่นอน
 
องค์กรและทีมงาน ต้อง Restart ตัวเองในเวอร์ชั่น Update เพราะสภาพแวดล้อมในการทำธุรกิจนั้น ไม่เหมือนช่วงก่อนวิกฤตอีกต่อไปแล้ว เพราะว่า
 

คู่แข่งขันในหลายธุรกิจที่ตั้งตัวได้ก่อน พัฒนาตัวเองได้เร็ว ก็รอดพ้นมาได้ แถมยังกล้าแกร่งกว่าเดิม
 
พฤติกรรมของลูกค้าก็ เปลี่ยนไปอย่างพลิกหน้ามือเป็นหลังมือ กลยุทธ์ธุรกิจที่เคยได้ผล ก็ล้าสมัยอย่างรวดเร็วในเวลาไม่กี่ปีครับ
 
เทคโนโลยีก็เปลี่ยนไป หลายธุรกิจเข้าสู่ความเป็นแพลตฟอร์มดิจิทัล บางที่ล้ำกว่า หาลูกเล่น Metaverse มาแบบเว่อวัง

 
แถมท้ายด้วยวิกฤตใหม่ๆ เช่น สงครามรัสเซีย ยูเครน วิกฤตห่วงโซ่อุปทาน การขาดแคลนวัตถุดิบในอุตสาหกรรม หรือแม้แต่ อาหาร กำลังเป็นตัวแปรที่เพิ่มเข้ามาเป็นแรงกดดัน ต่อผู้นำในการสร้างผลลัพธ์ที่ว่าด้วย
 
ถ้ายังไม่รู้ว่า พร้อมไหม ผมขอให้คำถามเพื่อเช็คความพร้อมก่อน RESTART ตามนี้ครับ
 
  1. ทีมงานพร้อมแล้วหรือยัง ในการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้?
  2. กลยุทธ์ในการรับมือสถานการณ์ของทีมคุณเป็นอย่างไร?
  3. กลยุทธ์นั้น นำไปสู่เป้าหมายที่องค์กรต้องการมากแค่ไหน? สร้าง Result ที่เป็นรูปธรรมหรือไม่?
  4. ทีมคุณพร้อมทำในสิ่งที่ใช่ ตามกลยุทธ์ที่วางไว้หรือไม่ หรือ จะกลับไปทำสิ่งเดิมๆ เหมือนก่อนเกิดสถานการณ์วิกฤต?
  5. ถ้ายัง แผนพัฒนาทีมงาน เพื่อความพร้อมเป็นอย่างไร?
 
ถ้ารู้สึกว่า ยังไม่พร้อมสำหรับการ Restart  ทางเราขอแนะนำโปรแกรมการพํฒนาผู้นำ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ คือ
 
  • Coaching For Business Results: เพื่อให้ผู้นำสามารถวางกลยุทธ์ และสนับสนุนทีมงานให้ทำตามกลยุทธ์ได้
  • Formation X : เพื่อสร้างทีมงานให้มีความพร้อมในการรับมือกลับความเปลี่ยนแปลงทั้งในปัจจุบัน และ อนาคตที่การเปลี่ยนแปลงจะทวีมากขึ้นเรื่อยๆ
หากพัฒนาในสองส่วนนี้ ก็จะช่วยให้ทีมของคุณ บรรลุ Key Factors ที่จะ Restart ธุรกิจองค์กร ได้อย่างราบรื่นครับ 

บทความโดย

Kom Suwanpimon (คม สุวรรณพิมล)
CEO & Founder / Coach For Goal Group 
 
  • Top Management Executive in Finacial Companies
  • Executive Coach & Business Development Consultant
  • Newspaper Columnnist & Author
     
Interesting Areas:
Business Results Inprovement, Leadership Development, Executive & performance Coaching, People Attitude & Behavior
 

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ

บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่?
ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง
บทบาทหัวหน้างาน ไม่ได้มีแค่การสั่งแล้วตามจิก

หลายคนรู้สึกว่าหัวหน้าไม่เห็นทำงานอะไรเลย ได้แต่สั่งงานแล้วก็ตามงาน แถมหัวหน้าบางคนก็ตามแบบจิกๆ อีกต่างหาก ทำแบบนี้หัวหน้าทำถูกหรือไม่? ที่นี่เรามาดูหน้าที่หลักๆของหัวหน้าว่าเขาต้องทำอะไรบ้าง

Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้
Catfish Effect บริหารพนักงานให้แกร่ง จากแรงฮึดเพื่ออยู่รอด

Catfish Effect (เอฟเฟกต์ปลาดุก) คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีคู่แข่งที่มีแข็งแกร่งเข้ามา จนทำให้คู่แข่งที่อ่อนแอ มีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากอะไร? และนำมาใช้เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของพนักงานและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน ได้อย่างไร? มารู้กันจาก blog นี้