1 - 10 of 12
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? เหตุผลของการกระทำแบบนี้ มีคำตอบเดียว คือ เป็นธรรมชาติของคน ที่มักอธิบายทุกสิ่งที่ตนทำไป เพื่อให้ตัวเองรู้สึกดีต่อใจ และดำรงไว้ซึ่งความภูมิใจในตนเอง แม้ว่าคำอธิบายนั้น มันจะไม่สมเหตุสมผลก็ตาม
“Hate speech” คำนินทา ไม่ใช่แค่ดราม่าในออฟฟิศ (ตอนที่ 2)
“Hate speech” คำนินทา ไม่ใช่แค่ดราม่าในออฟฟิศ (ตอนที่ 2)
การนินทานำมาซึ่งความไม่ไว้วางใจ และเมื่อ Trust ถูกทำลาย Engagement ภายในองค์กรก็ยิ่งเสื่อมถอย องค์กรใดไร้ Engagement ก็เปรียบเสมือนคนอยู่บ้านเดียวกันแต่ไม่เข้าใจและไม่สื่อสารกัน
“Hate speech” คำนินทา เมื่อดราม่าอยู่รอบตัวเรา (ตอนที่ 1)
“Hate speech” คำนินทา เมื่อดราม่าอยู่รอบตัวเรา (ตอนที่ 1)
“วาจาคืออาวุธ จงใช้อาวุธให้ตัวเราเองรอดพ้นจากอันตรายแต่อย่าใช้มันเพื่อทำร้ายคนอื่น” การนินทาเป็น “Hate speech” หรือไม่เพราะถ้า Hate speech คือ วาจาที่สร้างความเกลียดชังและหวังผลในการทำร้ายจิตใจ
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?" เป็นคำถามสั้นๆ เหมือนตอบไม่ยาก แต่ก็ไม่ง่ายที่จะตอบได้ บางคนจะอยู่กับตัวเองมาหลายสิบปี ก็อาจใช้เวลาเป็นสิบๆ นาที กว่าจะบรรยายได้ว่า ตัวเองเป็นคนแบบไหน นิสัยยังไง?
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
ช่วงแรก ที่ไม่รู้อะไรเลย คนเรารู้ตัวดีว่ายังขาดความรู้ ต่อมา เมื่อเริ่มรู้เล็กน้อย หลายคนจะเกิดอาการ "ร้อนวิชา" และเข้าใจผิดว่า ตัวเองรู้มากเกินกว่าความเป็นจริง ความมั่นใจจะถาโถมเข้ามาจนล้นปรี่ บ้างก็คุยโวจนเป็นที่น่าหมั่นไส้ของเพื่อนๆ
กรณีศึกษาเมื่อมองโลกด้วยแว่นตาสีเทา โรคซึมเศร้าในมนุษย์เงินเดือน
กรณีศึกษาเมื่อมองโลกด้วยแว่นตาสีเทา โรคซึมเศร้าในมนุษย์เงินเดือน
เพราะในวัย 35-50ปี อาจจะเป็นช่วง Middle crisis หรือวิกฤติชีวิตวัยกลางคน ที่ใครหลายๆคนในช่วงอายุดังกล่าวต้องแบกรับความกดดัน ทั้งจากในเรื่องหน้าที่การงาน หนี้สิน ปัญหาทางบ้านและปัญหาสุขภาพที่เริ่มถามหาในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป
Defense Mechanisms ในที่ทำงาน
Defense Mechanisms ในที่ทำงาน
ในแต่ละวัน ที่ทำงานเราเต็มไปด้วยความเครียดทั้งจากตัวงานและตัวคน ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายองค์กรที่หนักอึ้ง ความคาดหวังและมาตรฐานการทำงานจากหัวหน้า หรือ ความขัดแย้งจากเพื่อนร่วมงานที่คิดต่างกัน ฯลฯ
ภาวะ “Burnout” ตอนที่ 3: กรณีศึกษา Brownout “ภาวะหมดใจ” แต่ไฟยังมี
ภาวะ “Burnout” ตอนที่ 3: กรณีศึกษา Brownout “ภาวะหมดใจ” แต่ไฟยังมี
“Brownout” เป็นอาการของคนทำงานที่รู้สึกเหนื่อยหน่ายไม่มีความสุข ทุกข์ทนกับเงื่อนไขและระบบขององค์กร และมักจะไม่แสดงอาการให้เห็น มีแต่เจ้าตัวที่รู้ว่า ตัวเองจะมีอาการเหมือนถูกกดดันตลอดเวลา
ภาวะ "Burnout" ตอนที่ 2: สาเหตุของการ Burnout
ภาวะ "Burnout" ตอนที่ 2: สาเหตุของการ Burnout
สาเหตุของการ Burnout นั้น ทาง Havard Business Review (HBR) พบว่า สาเหตุหลักๆ เกิดจาก
ภาวะ "Burnout" ตอนที่ 1: กรณีศึกษา "ภาวะหมดไฟ" หาใช่ใจอ่อนแอ
ภาวะ "Burnout" ตอนที่ 1: กรณีศึกษา "ภาวะหมดไฟ" หาใช่ใจอ่อนแอ
สำหรับมนุษย์เงินเดือนอย่างพวกเรา คงจะมีหลายๆครั้งในชีวิตการทำงานที่รู้สึกท้อแท้ เหนื่อยล้า ไม่สบายใจ วันจันทร์ทีไรน้ำตาจะไหลทุกที อย่าเพิ่งด่วนสรุปไปว่าเป็นอาการของโรคเกลียดวันจันทร์หรือ "I hate Monday syndrome" เพราะมันอาจจะลึกล้ำกว่านั้นก็เป็นได้
1 - 10 of 12