1 - 10 of 10
World Economic Forum แนะนำ หัวหน้าแบบไหน ? ถึงได้ใจพนักงานยุคใหม่
World Economic Forum แนะนำ หัวหน้าแบบไหน ? ถึงได้ใจพนักงานยุคใหม่
ในการประชุมประจำปีของ World Economic Forum เองได้เคยพูดถึงประเด็นเหล่านี้ไว้แล้วครับ เพียงแต่ช่วงนั้นโลกของเรายังวุ่นๆ กับการรับมือปัญหาของโลกที่ยิ่งใหญ่กว่าอย่าง Covid-19 จึงทำให้เรื่องนี้ไม่ถูกพูดถึงมากนัก ประเด็นที่ท้าทาย คือ เด็กรุ่นใหม่ๆ ที่เข้าสู่ตลาดแรงงานนั้นจะมีความแตกต่างจากรุ่นใหญ่ในองค์กรมากเลย แม้แต่รุ่นก่อนหน้าเค้าแค่รุ่นเดียวก็ตาม ไม่ว่าจะโดนมองว่าไม่ทุ่มเท ไม่อดทน หรือ แม้แต่ เปลี่ยนงานบ่อย
โมเดล 70:20:10 การพัฒนาคนที่องค์กรยุคใหม่ต้องนำไปใช้
โมเดล 70:20:10 การพัฒนาคนที่องค์กรยุคใหม่ต้องนำไปใช้
แนวทางการพัฒนาของบริษัทชั้นนำในยุคนี้ ส่วนใหญ่จะใช้แนวทางตามโมเดล 70:20:10 ไม่ว่าจะเป็น Google, Microsoft, Coca-Cola ฯลฯ ตัวเลขที่ว่า ก็คือ สัดส่วนของแนวทางการพัฒนาพนักงานที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้และส่งผลลัพธ์ในงาน โดยรายละเอียดมีดังนี้
Top 5 Business Challenges To Watch In 2022
Top 5 Business Challenges To Watch In 2022
แม้หลายองค์กรได้มีการปรับตัว เพื่ออยู่ในรอดในสถานการณ์ดังกล่าว แต่เนื่องจากความรุนแรงที่ส่งผลกระทบไปทั่วโลกทำให้การปรับตัวนี้ส่งผลในเชิงบวกได้อย่างไม่เร็วนัก The COVID-19 ได้ดิสรัปแผนการต่างๆของบริษัทเป็นจำนวนมาก และบีบบังคับให้ธุรกิจต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วและ ใช้มาตรฐานการทำงานใหม่ๆ และต้องหันไปพึ่งพาธุรกิจดิจิตัลมากยิ่งขึ้น
หลัง <span style="background-color:#8CFFC6">Covid-19</span> ต้องเตรียมโค้ชผู้บริหารใน 3 ด้านนี้
หลัง Covid-19 ต้องเตรียมโค้ชผู้บริหารใน 3 ด้านนี้
ช่วง lockdown ที่ผ่านมานั้น อย่าลืมว่าเราต้องทำงานไกลกัน และทุกอย่างเป็นการบริหารทางไกล (remote) จากการทำงานแบบ work from home และเมื่อต้องว่างเว้นจากการทำงานปกติไปนาน ปัญหาที่จะเกิดมันจะมีสามด้าน คือ
Crisis leadership during the COVID-19 era
Crisis leadership during the COVID-19 era
ในช่วงวิกฤต หลายคนอาจคิดว่า ภาวะผู้นำแบบวีรบุรุษ (Heroic Leadership) และผู้นำแบบมีวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership) คือ สิ่งที่จำเป็นที่สุด เพราะคิดว่าจะช่วยการันตี "วันพรุ่งนี้" ที่ดีกว่าได้ ทว่า เมื่อกำลังใจของผู้คนได้ลดลง จนเข้าใกล้ฐานล่างของพิระมิดมาสโลว์แล้ว ความต้องการด้านความปลอดภัยต่อร่างกายและจิตใจ (Safety & Security) กลับเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่งกว่า
Coaching in the Time of COVID-19
Coaching in the Time of COVID-19
โลกของเราเริ่มปลี่ยนไปตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ ปี 2020 จากไวรัส Corona เราเห็นความร้ายแรงของมหันตภัยในจีนก่อน จากนั้นไม่กี่สัปดาห์ ก็เป็นอิตาลี แล้วตามมาด้วยสหรัฐอเมริกา ที่เศรษฐกิจเข้าสู่ความชะงักงันไปทีละรัฐ โค้ชผู้บริหารทั้งหลาต้องโค้ชและให้คำแนะนำ เพื่อที่ผู้บริหารทั้งหลายจะสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ได้ (แม้ว่าตัวจะต้องไกลกันก็ตาม) และเราสังเกตเห็นปฏิกริยาของพวกเขา แบ่งเป็นสองระยะ
การรบครั้งนี้ ไม่ได้มีคุณแค่คนเดียว
การรบครั้งนี้ ไม่ได้มีคุณแค่คนเดียว
การรบครั้งนี้ ไม่ได้มีคุณแค่คนเดียว Webinar ผ่านไปสองตอนแล้ว ผมถือโอกาสสรุป เผื่อใครยังไม่มีเวลาดูนะครับ EP.1 นั้น ประเด็นสำคัญอยู่ที่ ในสถานการณ์วิกฤติ ไม่ว่าจะเป็น Covid-19 หรืออื่นๆก็ตาม
Sinking of The TITANIC EP.2
Sinking of The TITANIC EP.2
Sinking of The TITANIC EP.2 เราเป็นลูกน้องแบบไหนในวันเรือแตก “พอให้ Work from home ก็บ่น อยากเข้าออฟฟิศ พอให้เข้าออฟฟิศก็บ่นกลัวโควิด เอาใจไม่ถูกละ”
Sinking of The TITANIC EP.1
Sinking of The TITANIC EP.1
Sinking of The TITANIC EP.1 เรามีหัวหน้าแบบไหนในวันที่เรือชนภูเขาน้ำแข็ง “หัวหน้าผม วางแผนทำ Worst case scenario ก่อนใครเลยพี่ แต่ยังไม่ตัดสินใจอะไรเลย”
New Normal
New Normal
New Normal เดิมเป็นคำที่ Bill Gross นักลงทุนในตราสารหนี้ชื่อดัง นำมาใช้เพื่ออธิบายสถานการณ์ทางเศรษฐกิจช่วงวิกฤติซัพไพร์ม (Subprime) หมายถึง ลักษณะการเติบโตทางธุรกิจที่เปลี่ยนไปจากรูปแบบเดิม จนเป็นแบบแผนใหม่ บรรทัดฐานใหม่
1 - 10 of 10