ปากและใจไปไวกว่าความคิด
ปากและใจไปไวกว่าความคิด
กรณีศึกษา เพราะปากและใจไปไวกว่าความคิด เพราะมีปราชญ์ท่านหนึ่งเคยกล่าวไว้ว่า จงคิดทุกอย่างที่พูด แต่อย่าพูดทุกอย่างที่คิด ในปัจจุบันนอกจากพูดแล้ว การพิมพ์หรือระบายสิ่งใดลงในโลกออนไลน์ คงต้องถือเป็นข้อห้ามพึงระวัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ในเวลาโกรธ”
เมื่อปลาเร็วกินปลาช้า หัวหน้าต้องปรับตัวอะไรบ้าง?
เมื่อปลาเร็วกินปลาช้า หัวหน้าต้องปรับตัวอะไรบ้าง?
ปัจจุบัน เรามาถึงยุคที่ "ปลาเร็วกินปลาช้า" แล้วครับ ยุคนี้ เป็นทั้งโอกาสและวิกฤติ เพราะ ทุกธุรกิจ หรือ "ปลาทุกขนาด" สามารถเติบโตได้ ถ้ามี "ความเร็ว" ในการปรับตัวที่เพียงพอ ยิ่งถ้าเร็วและแม่นยำ ก็จะทำให้องค์กรว่ายผ่านคลื่นแห่งการเปลี่ยนแปลงได้อย่างราบรื่นไม่ถูกพัดหายไป กับ Disruption ที่ถาโถมเข้ามา
PerformanceSPRINT
PerformanceSPRINT
PerformanceSPRINT : เริ่มต้นวันทำงานแบบนี้ ประชุมให้ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง เวลาในการประชุมเป็นดั่งช่วงเวลาทองคำ ที่ทำให้สมาชิกในทีมได้สื่อสารกันว่า ที่ผ่านมา เราวิ่งกันมาไกลแค่ไหนแล้ว และเหลือระยะทางอีกเท่าไร ถึงจะไปถึงเป้าหมายที่วางไว้ จะได้ใส่ Sprint กันให้สุดฝีเท้า เร่งก้าวไปให้ถึง Goal
PerformanceSprint
PerformanceSprint
PerformanceSprint เพราะวิ่งคนเดียวไปได้ไว แต่วิ่งให้ไกลต้องไปเป็นทีม เพราะการ Sprint หรือการวิ่งเร็วแบบเต็มฝีเท้าด้วยความเร็วสูงสุดที่มี ทำให้เราไปวิ่งไปจนถึงเส้นชัย แต่ในฐานะผู้จัดการหรือหัวหน้างาน เราไม่อาจจะ Sprint เพียงคนเดียวลำพังเพื่อให้ทีมไปถึงเป้าหมาย เพราะในชีวิตการทำงานไม่ใช่แค่การวิ่ง 100 เมตร แต่คือการวิ่งมาราธอนแบบส่งไม้ผลัดที่ต้องรักษาทั้งความเร็ว รักษาระยะและรักษาความสัมพันธ์ในการทำงานเป็นทีม และเพื่อทำให้ทีมงานไปถึงเป้าหมายได้ในเวลาอันรวดเร็วโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง II
เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง II
เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง Well begun is half done II เพราะย้อนเวลากลับไปแก้ไขอดีตไม่ได้ สิ่งสำคัญคือการอยู่กับปัจจุบัน เมื่อเริ่มใหม่ได้ในทุกวัน สิ่งสำคัญในการเปลี่ยนแปลงคือ Awareness หรือความตระหนักรู้ เพราะถ้าไม่ตระหนักรู้และไม่อยากเปลี่ยนแปลง จะเริ่มต้นใหม่ได้อย่างไรถามใจดู
เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง
เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง
กรณีศึกษาเมื่อเริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง Well begun is half done ถ้าวันนี้เราถามตัวเองว่าถ้าย้อนเวลากลับไปได้ เราจะย้อนเวลากลับไปทำอะไร? เป็นคำถามที่ใครหลายคนแอบตอบในใจว่า อยากกลับไป “เริ่มต้นใหม่” กับอะไรซักอย่าง โดยเฉพาะในชีวิตการทำงาน สำหรับผู้ที่เป็นหัวหน้างานหรือผู้จัดการใหม่ทั้งหลาย
เริ่มต้นสัปดาห์ยังไง ให้งานวิ่งฉิว
เริ่มต้นสัปดาห์ยังไง ให้งานวิ่งฉิว
วันจันทร์แบบนี้ ต้องเริ่มต้นการทำงานยังไง ถึงจะมีชัยไปกว่าครึ่ง บรรดาผู้นำระดับโลกต่างก็มีธรรมเนียมการเริ่มต้นทำงานในวันจันทร์ ที่จะช่วยให้ออกตัวทำงานต้นวีคได้แรงกว่าเดิม มาดูกันว่าแต่ละคนมีเคล็ดลับยังไงบ้าง
ร่วมกันขจัดโรคซึมเศร้าในที่ทำงาน
ร่วมกันขจัดโรคซึมเศร้าในที่ทำงาน
เวลาที่เราได้เห็นข่าวคนปลิดชิวิตตนเองจากปัญหาโรคซึมเศร้า “เรา” ในฐานะคนธรรมดา ก็มักจะคิดว่า ทำไมและเพราะอะไรถึงได้ตัดสินใจแบบนี้ ทำไมไม่คิดถึงวันข้างหน้า ชีวิตมันก็เป็นแบบนี้มีความทุกข์ด้วยกันทุกคน ทำไมไม่สู้ ทำแบบนี้คนข้างหลังจะอยู่อย่างไร คำถามมากมายเกิดขึ้นในใจแล้ว”เรา”ก็ลืมเลือนมันไป
ทำงานวันเสาร์อย่างไรไม่ให้เศร้า
ทำงานวันเสาร์อย่างไรไม่ให้เศร้า
ทำงานวันเสาร์อย่างไรไม่ให้เศร้า เมื่อ Saturday is not a sad day ถึงแม้ในปัจจุบันจะมีงานวิจัยรองรับว่า การทำงาน 4 วันต่อสัปดาห์ส่งผลดีต่อประสิทธิภาพในการทำงานมากขึ้น รวมทั้งมีหลายๆประเทศเริ่มทดลองทำงาน 4 วัน เช่นในเยอรมันและนิวซีแลนด์ แต่ในเมื่อกฏหมายแรงงานของไทยกำหนดไว้ในเรื่องของเวลาการทำงานไว้ว่า ไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จึงยังมีหลายๆบริษัทในปัจจุบันที่ยังทำงานวันจันทร์ถึงวันเสาร์
ภาวะ “Boreout Syndrome”
ภาวะ “Boreout Syndrome”
ภาวะ “Boreout Syndrome” กรณีศึกษา “ภาวะเบื่องาน” เมื่องานน้อยไป ใจจึงอ่อนแรง แต่เชื่อหรือไม่ว่านอกจากงานหนักและภาวะตึงเครียดที่ทำให้คนหมดไฟและหมดใจ งานที่น้อยเกินไปและไม่ท้าทายก็สามารถทำให้เกิดภาวะถดถอยในการทำงานได้เช่นกัน “Boreout Syndrome” เป็นภาวะของการเบื่อในงานที่ทำ รู้สึกว่างานที่ทำไม่มีคุณค่า ไม่ตอบสนองและส่งเสริมศักยภาพที่มีอยู่ของตนเอง หรืออาจจะเรียกว่าขาดแรงบันดาลใจ ในการทำงานก็ย่อมได้