101 - 110 of 113
หัวหน้าแบบ ลม และพระอาทิตย์
หัวหน้าแบบ ลม และพระอาทิตย์
นิทานเด็กยังสอนผู้ใหญ่ได้ หากค่อยๆอ่านและคิดตามไป อย่างเช่น เรื่องลมกับพระอาทิตย์ ก็เป็นเรื่องที่สอนภาวะผู้นำได้ดี ไม่แพ้หลักการใดเลย หากท่านใดลืมเนื้อหา เพราะเลยวัยเด็กมาเนิ่นนานแล้ว ผมก็ขอช่วยทวนคร่าวๆ ดังนี้ คงไม่ว่ากันนะครับ
คินสึงิ (Kintsugi) แนวคิดเปลี่ยนความล้มเหลวให้เป็นความงดงาม
คินสึงิ (Kintsugi) แนวคิดเปลี่ยนความล้มเหลวให้เป็นความงดงาม
"คินสึงิ (Kintsugi)" คือ แนวคิดหนึ่งที่ช่วยเยียวยา จิตใจบอบช้ำที่เกิดจากความล้มเหลว ให้กลับมาเข้มแข็งอีกครั้ง ความผิดพลาดในอดีตของคน หากรู้จักวิธีประสานรอยร้าวของจิตใจ ช่วงเวลาอันเจ็บปวดของชีวิตนั้น ก็ผันเป็นหนทางพัฒนาศักยภาพที่ตัวเองมีได้ เพียงกาวที่ใช้นั้น ไม่ใช่สสารทางกายภาพแต่เป็นชุดความคิด
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
วงจรการโทษกันแบบ "กบร้องเพราะท้องปวด" มีเพื่ออธิบายเหตุผล ที่มาที่ไปของความผิดพลาดที่ "ดูเหมือนสมเหตุสมผล" แต่ก็ไม่ได้ช่วยให้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ไม่ต่างกับเพลงกบปวดท้อง ที่เริ่มอธิบายปัญหา และวนหาสาเหตุที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ท้ายสุดมันก็วนมาที่จุดเริ่มต้น แล้ววนเป็นลูปใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? เหตุผลของการกระทำแบบนี้ มีคำตอบเดียว คือ เป็นธรรมชาติของคน ที่มักอธิบายทุกสิ่งที่ตนทำไป เพื่อให้ตัวเองรู้สึกดีต่อใจ และดำรงไว้ซึ่งความภูมิใจในตนเอง แม้ว่าคำอธิบายนั้น มันจะไม่สมเหตุสมผลก็ตาม
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?" เป็นคำถามสั้นๆ เหมือนตอบไม่ยาก แต่ก็ไม่ง่ายที่จะตอบได้ บางคนจะอยู่กับตัวเองมาหลายสิบปี ก็อาจใช้เวลาเป็นสิบๆ นาที กว่าจะบรรยายได้ว่า ตัวเองเป็นคนแบบไหน นิสัยยังไง?
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
ช่วงแรก ที่ไม่รู้อะไรเลย คนเรารู้ตัวดีว่ายังขาดความรู้ ต่อมา เมื่อเริ่มรู้เล็กน้อย หลายคนจะเกิดอาการ "ร้อนวิชา" และเข้าใจผิดว่า ตัวเองรู้มากเกินกว่าความเป็นจริง ความมั่นใจจะถาโถมเข้ามาจนล้นปรี่ บ้างก็คุยโวจนเป็นที่น่าหมั่นไส้ของเพื่อนๆ
กรณีศึกษาเมื่อมองโลกด้วยแว่นตาสีเทา โรคซึมเศร้าในมนุษย์เงินเดือน
กรณีศึกษาเมื่อมองโลกด้วยแว่นตาสีเทา โรคซึมเศร้าในมนุษย์เงินเดือน
เพราะในวัย 35-50ปี อาจจะเป็นช่วง Middle crisis หรือวิกฤติชีวิตวัยกลางคน ที่ใครหลายๆคนในช่วงอายุดังกล่าวต้องแบกรับความกดดัน ทั้งจากในเรื่องหน้าที่การงาน หนี้สิน ปัญหาทางบ้านและปัญหาสุขภาพที่เริ่มถามหาในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป
Defense Mechanisms ในที่ทำงาน
Defense Mechanisms ในที่ทำงาน
ในแต่ละวัน ที่ทำงานเราเต็มไปด้วยความเครียดทั้งจากตัวงานและตัวคน ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายองค์กรที่หนักอึ้ง ความคาดหวังและมาตรฐานการทำงานจากหัวหน้า หรือ ความขัดแย้งจากเพื่อนร่วมงานที่คิดต่างกัน ฯลฯ
ภาวะ “Burnout” ตอนที่ 3: กรณีศึกษา Brownout “ภาวะหมดใจ” แต่ไฟยังมี
ภาวะ “Burnout” ตอนที่ 3: กรณีศึกษา Brownout “ภาวะหมดใจ” แต่ไฟยังมี
“Brownout” เป็นอาการของคนทำงานที่รู้สึกเหนื่อยหน่ายไม่มีความสุข ทุกข์ทนกับเงื่อนไขและระบบขององค์กร และมักจะไม่แสดงอาการให้เห็น มีแต่เจ้าตัวที่รู้ว่า ตัวเองจะมีอาการเหมือนถูกกดดันตลอดเวลา
การบริหารทีม ควรมี Empathy หรือ Sympathy?
การบริหารทีม ควรมี Empathy หรือ Sympathy?
"ถ้าจะให้งานเสร็จ ต้องอย่าไปเห็นอกเห็นใจลูกน้องมากนัก" เชื่อว่าหลายคนต้องเคยเจอหัวหน้าที่เป็นแบบนี้ ที่เวลาทำงานมักจะเน้นเป้าหมายในงานไว้ก่อน และเชื่อว่า ความเห็นอกเห็นใจ ทำให้รู้สึกสงสารเป็นความรู้สึกที่สร้างอุปสรรคสำคัญต่อการทำงาน และดูเป็นผู้นำที่โอนอ่อนผ่อนตาม ไม่เด็ดขาด และขาดจุดยืน
101 - 110 of 113