ทำไมผู้นำยุคใหม่ ต้องใช้ Inclusive <span style="background-color:#8CFFC6">Leadership</span>?
ทำไมผู้นำยุคใหม่ ต้องใช้ Inclusive Leadership?
หัวหน้ายุคใหม่ต้องทำอย่างไร ให้ทีมงานสามารถโอบรับความ "แตกต่าง" นั้นได้ แต่ไม่ทำให้ทีม "แตกหัก" ไปเสียก่อน เอาแค่เรื่องวัย เรื่อง Generation อย่างเดียว นี่ก็ทำเอาคนในทีมปวดหัวมากแล้วครับ คำตอบของเรื่องนี้ ก็คือ ทีมจะต้องมีผู้นำที่สามารถ "หลอมรวมใจ และผสานให้ทีมเป็นหนึ่งเดียว" ได้ หรือ ที่เรียกภาษาอังกฤษแบบเท่ๆ ว่า Inclusive Leader
4 วิธีง่ายๆ ที่ช่วยให้คนรอบกายเก่งขึ้น
4 วิธีง่ายๆ ที่ช่วยให้คนรอบกายเก่งขึ้น
การพยามยามช่วยให้ใครสักคน เปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดีขึ้น ฟังแล้วเป็นเรื่องยาก​ ไม่ว่าจะเป็นหัวหน้าที่อยากให้ลูกน้องปรับปรุง พัฒนาการทำงาน หรือแม้แต่คนใกล้ชิดที่เราหวังดีอยากให้เขาเปลี่ยนตัวเอง เพราะคนแต่ละคนต่างก็มีความนิสัยติดตัว มีความเคยชินต่างกัน แม้ว่าจะมีความหวังดีอยากให้เขาพัฒนา ก็อาจจะโดนหาว่าไปยุ่งวุ่นวายชีวิตเขาเปล่าๆ ดังนั้นการจะช่วยให้ใครสักคนพัฒนาตนเอง จึงต้องมีวิธีการที่เหมาะสมด้วย เคล็ดลับทั้งสี่ข้อที่ว่า ก็คือ
5 แนวทางเพิ่มทักษะล้มแล้วลุกไว (Resilleince) ตามสไตล์ Harvard Business Review
5 แนวทางเพิ่มทักษะล้มแล้วลุกไว (Resilleince) ตามสไตล์ Harvard Business Review
Resilleince คือ อะไร? ในการทำงานยุคนี้ เราได้ยินคำนี้กันบ่อยๆ ครับ ส่วนใหญ่ก็จะใช้ทับศัพท์ เพื่ออธิบายถึงทักษะในการล้มแล้วต้องลุกให้เร็ว ความหมายตรงตัวของคำนี้ ก็คือ "ความยืดหยุ่น" แต่มันก็ไปพ้องกับ Flexible ที่แปลเหมือนกันว่า ความยืดหยุ่นด้วย แต่ Resilleince ต่างจาก Flexibility ตรงที่
4 ข้อสังเกต ต้องทำงานแบบไหน ถึงเรียกว่าเป็นทีม?
4 ข้อสังเกต ต้องทำงานแบบไหน ถึงเรียกว่าเป็นทีม?
ดูเผินๆ แล้ว เราอาจคิดว่า ทุกวันนี้เราทำงานเป็นทีมกันอยู่นะครับแต่หากมองดูจริงๆ แล้ว สมาชิกในทีม อาจจะแค่มานั่งทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มเฉยๆ ไม่ได้มีความเป็นทีมเลยก็ได้นะ แล้วต้องทำงานอย่างไร ถึงจะเรียกว่าเป็นทีมล่ะ? ต้องดูจากข้อสังเกตต่อไปนี้
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 4 Digital Skills)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 4 Digital Skills)
ทักษะด้านดิจิทัลคืออะไร? เพราะหลายๆ ครั้งเราบอกทักษะดิจิทัลๆ มันกว้างจนหลายคนตีความในแบบที่ตัวเองเข้าใจ เช่น เขียนโปรแกรมบ้าง ใช้ Software เป็นบ้าง ฯลฯ ดังนั้น สำหรับตอนนี้ผมขอสรุปแบบง่ายเลยละกันว่า คุณจะต้องมี 3 ด้านนี้ คือ
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 3 Interpersonal Skills)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 3 Interpersonal Skills) New New
ในโลกใหม่นี้ ทักษะด้านคน เน้นไปเรื่องความเป็นมนุษย์และการเชื่อมโยงกัน แบบ networking มากขึ้นครับ เพราะว่า เป็นที่ประจักษ์แล้วว่าหลายๆ ครั้ง คนเราถูกขับเคลื่อนด้วยอารมณ์มากกว่าเหตุผล และต้องช่วยกันให้ผ่านการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงและรวดเร็ว และหากคนเราเชื่อมโยงกันด้านอารมณ์ความรู้สึกได้ จะเกิดพลังที่เรียกว่า 1+1 มากกว่า 2 และสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้องค์กรได้เยอะมากๆครับ
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 2  Cognitive Skills)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 2 Cognitive Skills)
"วิธีคิด" หรือ Cognitive Skills คือ ทักษะหมวดที่สอง เพื่อขอพาสปอร์ต สำหรับไปโลกใบใหม่ จากงานวิจัยของ McKinsey ครับ โลกยุคใหม่ เป็นโลกที่มีลักษณะเปราะบาง ไม่แน่นอน ซับซ้อน คลุมเครือ ทำให้เรามีแนวโน้มที่ต้องใช้ข้อมูลข่าวสารมากขึ้น ซึ่งจริงๆ แล้ว ทุกวันนี้ คนทุกคนก็สามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายกว่าเดิมเยอะมาก แต่....
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 1 <span style="background-color:#8CFFC6">Leadership</span>)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 1 Leadership)
งานวิจัยจาก McKinsey ได้ศึกษาเรื่องทักษะที่จำเป็นในโลกอนาคต จากคนจำนวน 18K ใน 15 ประเทศ แล้วสรุปลักษณะประชากรแห่งโลกใหม่ (Future-Citizen Skills) ไว้ว่า จะต้องมีทักษะที่จำเป็นทั้งหมด 13 ด้าน ซึ่งเมื่อแบ่งเป็นหมวดหมู่แล้วจะได้ทั้งหมด 4 กลุ่ม คือ
ต้องปรับตัวอย่างไร เมื่อเข้าสู่ยุค BANI world
ต้องปรับตัวอย่างไร เมื่อเข้าสู่ยุค BANI world
โพสที่แล้ว เรารู้กันแล้ว่า BANI world คืออะไร? และคำนี้ถูกสร้างมาทำไม? วันนี้มาดูว่าแล้วเราต้องเตรียมปรับตัวกันอย่างไรบ้างกันครับ
จาก VUCA world สู่ BANI world
จาก VUCA world สู่ BANI world
คำว่า BANI World จึงถูกคิดค้นโดย Jamais Cascio โดยต่อยอดจากแนวคิดทางสังคมวิทยา Liquid Modernity (ที่ว่าทุกอย่างเป็นของไหล ที่คลุมเคลือ ไม่แน่นอน) ของ Zygmunt Bauman โดย BANI World อธิบายลักษณะของโลกยุคนี้ว่า