เมื่อ ไม่พึงพอใจในงาน พนักงาน ก็จะมีอาการ 4 แบบนี้
เมื่อ ไม่พึงพอใจในงาน พนักงาน ก็จะมีอาการ 4 แบบนี้
ความพึงพอใจในงาน หรือ Job Satisfaction นั้น ถือว่าเป็นทัศนคติที่พนักงานมีต่อตัวงาน หรือ องค์กรครับ แต่เมื่อพวกเขาเกิดความ "ไม่พึงพอใจในงาน" พฤติกรรมที่ตามมาก็จะเกิดตามความคิดที่มีครับ โดย Rusbule & Lowery ได้แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่
หลักสูตร THE DATA DRIVEN LEADERSHIP
หลักสูตร THE DATA DRIVEN LEADERSHIP
The Powerful approach to Delivering Measurable Business Impact through people management
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ยังคงใช้ได้ หรือ ควรเก็บไปเข้ากรุดี?
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ยังคงใช้ได้ หรือ ควรเก็บไปเข้ากรุดี?
ทฤษฎี X และ Y ของ Douglas McGregor แนวคิดนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ ครึ่งศตวรรษก่อน ราวๆ ต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 โน่น (ราวๆ 1960) ซึ่งเป็นยุคต้นของดิจิทัลเลย เพราะช่วงที่คอมพิวเตอร์เกิดพอดี ซึ่งทฤษฎีนี้อธิบายว่า มุมมองของผู้นำที่มีต่อพนักงาน มี 2 แบบ คือ
กรณีศึกษา: ใต้ภูเขาน้ำแข็งแห่งการเปลี่ยนแปลงของ IKEA
กรณีศึกษา: ใต้ภูเขาน้ำแข็งแห่งการเปลี่ยนแปลงของ IKEA
การทำ Digital Transformation ในแบบอีเกียนั้น สามารถ เปรียบได้กับการมองภาพภูเขาน้ำแข็งที่ลอยอยู่ในน้ำครับ ส่วนยอดของภูเขานั้น คือ สิ่งที่มองเห็นได้ชัดเจนที่สุด ซึ่งสิ่งที่อีเกียทำ คือ การตอบสนองต้องการของลูกค้า และ การปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง
ประสบการณ์ที่ดีของพนักงาน เริ่มสร้างได้จากหัวหน้างาน
ประสบการณ์ที่ดีของพนักงาน เริ่มสร้างได้จากหัวหน้างาน
งานวิจัยของ McKinsey บอกว่าพนักงานที่มีประสบการณ์ที่ดีกับองค์กรนั้น จะมีความผูกพันมากกว่ากลุ่มที่มีประสบการณ์ไม่ดี มากถึง 18 เท่าครับ ซึ่งจะเริ่มสร้างประสบการณ์ที่ดีของพนักงานได้ ก็ต้องรู้จักการสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงานก่อน
หลัง Covid-19 ต้องเตรียมโค้ชผู้บริหารใน 3 ด้านนี้
หลัง Covid-19 ต้องเตรียมโค้ชผู้บริหารใน 3 ด้านนี้
ช่วง lockdown ที่ผ่านมานั้น อย่าลืมว่าเราต้องทำงานไกลกัน และทุกอย่างเป็นการบริหารทางไกล (remote) จากการทำงานแบบ work from home และเมื่อต้องว่างเว้นจากการทำงานปกติไปนาน ปัญหาที่จะเกิดมันจะมีสามด้าน คือ
5 สิ่งสำคัญ ที่ CEO ต้องทำ เพื่อเปลี่ยนแปลงองค์กรไปสู่ Digital
5 สิ่งสำคัญ ที่ CEO ต้องทำ เพื่อเปลี่ยนแปลงองค์กรไปสู่ Digital
5 สิ่งสำคัญ ที่ CEO ต้องทำ เพื่อเปลี่ยนแปลงองค์กรไปสู่ Digital จริงอยู่ว่าบทความนี้ พูดถึง Management ระดับสูง แต่ท้าย ทิศทางนั้น ก็จะเป็นนโยบาย เพื่อให้เราๆ ท่านๆ ได้นำมาปฏิบัติอยู่ดีครับ
Future Skills For Uncertain World
Future Skills For Uncertain World
งานวิจัยจาก McKinsey ได้ศึกษาเรื่องทักษะที่จำเป็นในโลกอนาคต จากคนจำนวน 18K ใน 15 ประเทศ แล้วสรุปลักษณะประชากรแห่งโลกใหม่ (Future-Citizen Skills) ไว้ว่า จะต้องมีทักษะที่จำเป็นทั้งหมด 13 ด้าน ซึ่งเมื่อแบ่งเป็นหมวดหมู่แล้วจะได้ทั้งหมด 4 กลุ่ม คือ
Crisis leadership during the COVID-19 era
Crisis leadership during the COVID-19 era
ในช่วงวิกฤต หลายคนอาจคิดว่า ภาวะผู้นำแบบวีรบุรุษ (Heroic Leadership) และผู้นำแบบมีวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership) คือ สิ่งที่จำเป็นที่สุด เพราะคิดว่าจะช่วยการันตี "วันพรุ่งนี้" ที่ดีกว่าได้ ทว่า เมื่อกำลังใจของผู้คนได้ลดลง จนเข้าใกล้ฐานล่างของพิระมิดมาสโลว์แล้ว ความต้องการด้านความปลอดภัยต่อร่างกายและจิตใจ (Safety & Security) กลับเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่งกว่า
Coaching in the Time of COVID-19
Coaching in the Time of COVID-19
โลกของเราเริ่มปลี่ยนไปตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ ปี 2020 จากไวรัส Corona เราเห็นความร้ายแรงของมหันตภัยในจีนก่อน จากนั้นไม่กี่สัปดาห์ ก็เป็นอิตาลี แล้วตามมาด้วยสหรัฐอเมริกา ที่เศรษฐกิจเข้าสู่ความชะงักงันไปทีละรัฐ โค้ชผู้บริหารทั้งหลาต้องโค้ชและให้คำแนะนำ เพื่อที่ผู้บริหารทั้งหลายจะสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ได้ (แม้ว่าตัวจะต้องไกลกันก็ตาม) และเราสังเกตเห็นปฏิกริยาของพวกเขา แบ่งเป็นสองระยะ