51 - 60 of 102
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 3 Interpersonal Skills)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 3 Interpersonal Skills) New New
ในโลกใหม่นี้ ทักษะด้านคน เน้นไปเรื่องความเป็นมนุษย์และการเชื่อมโยงกัน แบบ networking มากขึ้นครับ เพราะว่า เป็นที่ประจักษ์แล้วว่าหลายๆ ครั้ง คนเราถูกขับเคลื่อนด้วยอารมณ์มากกว่าเหตุผล และต้องช่วยกันให้ผ่านการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงและรวดเร็ว และหากคนเราเชื่อมโยงกันด้านอารมณ์ความรู้สึกได้ จะเกิดพลังที่เรียกว่า 1+1 มากกว่า 2 และสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้องค์กรได้เยอะมากๆครับ
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 2  Cognitive Skills)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 2 Cognitive Skills)
"วิธีคิด" หรือ Cognitive Skills คือ ทักษะหมวดที่สอง เพื่อขอพาสปอร์ต สำหรับไปโลกใบใหม่ จากงานวิจัยของ McKinsey ครับ โลกยุคใหม่ เป็นโลกที่มีลักษณะเปราะบาง ไม่แน่นอน ซับซ้อน คลุมเครือ ทำให้เรามีแนวโน้มที่ต้องใช้ข้อมูลข่าวสารมากขึ้น ซึ่งจริงๆ แล้ว ทุกวันนี้ คนทุกคนก็สามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายกว่าเดิมเยอะมาก แต่....
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 1 Leadership)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 1 Leadership)
งานวิจัยจาก McKinsey ได้ศึกษาเรื่องทักษะที่จำเป็นในโลกอนาคต จากคนจำนวน 18K ใน 15 ประเทศ แล้วสรุปลักษณะประชากรแห่งโลกใหม่ (Future-Citizen Skills) ไว้ว่า จะต้องมีทักษะที่จำเป็นทั้งหมด 13 ด้าน ซึ่งเมื่อแบ่งเป็นหมวดหมู่แล้วจะได้ทั้งหมด 4 กลุ่ม คือ
ต้องปรับตัวอย่างไร เมื่อเข้าสู่ยุค BANI world
ต้องปรับตัวอย่างไร เมื่อเข้าสู่ยุค BANI world
โพสที่แล้ว เรารู้กันแล้ว่า BANI world คืออะไร? และคำนี้ถูกสร้างมาทำไม? วันนี้มาดูว่าแล้วเราต้องเตรียมปรับตัวกันอย่างไรบ้างกันครับ
จาก VUCA world สู่ BANI world
จาก VUCA world สู่ BANI world
คำว่า BANI World จึงถูกคิดค้นโดย Jamais Cascio โดยต่อยอดจากแนวคิดทางสังคมวิทยา Liquid Modernity (ที่ว่าทุกอย่างเป็นของไหล ที่คลุมเคลือ ไม่แน่นอน) ของ Zygmunt Bauman โดย BANI World อธิบายลักษณะของโลกยุคนี้ว่า
เมื่อ ไม่พึงพอใจในงาน พนักงาน ก็จะมีอาการ 4 แบบนี้
เมื่อ ไม่พึงพอใจในงาน พนักงาน ก็จะมีอาการ 4 แบบนี้
ความพึงพอใจในงาน หรือ Job Satisfaction นั้น ถือว่าเป็นทัศนคติที่พนักงานมีต่อตัวงาน หรือ องค์กรครับ แต่เมื่อพวกเขาเกิดความ "ไม่พึงพอใจในงาน" พฤติกรรมที่ตามมาก็จะเกิดตามความคิดที่มีครับ โดย Rusbule & Lowery ได้แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ยังคงใช้ได้ หรือ ควรเก็บไปเข้ากรุดี?
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ยังคงใช้ได้ หรือ ควรเก็บไปเข้ากรุดี?
ทฤษฎี X และ Y ของ Douglas McGregor แนวคิดนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ ครึ่งศตวรรษก่อน ราวๆ ต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 โน่น (ราวๆ 1960) ซึ่งเป็นยุคต้นของดิจิทัลเลย เพราะช่วงที่คอมพิวเตอร์เกิดพอดี ซึ่งทฤษฎีนี้อธิบายว่า มุมมองของผู้นำที่มีต่อพนักงาน มี 2 แบบ คือ
กรณีศึกษา: ใต้ภูเขาน้ำแข็งแห่งการเปลี่ยนแปลงของ IKEA
กรณีศึกษา: ใต้ภูเขาน้ำแข็งแห่งการเปลี่ยนแปลงของ IKEA
การทำ Digital Transformation ในแบบอีเกียนั้น สามารถ เปรียบได้กับการมองภาพภูเขาน้ำแข็งที่ลอยอยู่ในน้ำครับ ส่วนยอดของภูเขานั้น คือ สิ่งที่มองเห็นได้ชัดเจนที่สุด ซึ่งสิ่งที่อีเกียทำ คือ การตอบสนองต้องการของลูกค้า และ การปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง
ประสบการณ์ที่ดีของพนักงาน เริ่มสร้างได้จากหัวหน้างาน
ประสบการณ์ที่ดีของพนักงาน เริ่มสร้างได้จากหัวหน้างาน
งานวิจัยของ McKinsey บอกว่าพนักงานที่มีประสบการณ์ที่ดีกับองค์กรนั้น จะมีความผูกพันมากกว่ากลุ่มที่มีประสบการณ์ไม่ดี มากถึง 18 เท่าครับ ซึ่งจะเริ่มสร้างประสบการณ์ที่ดีของพนักงานได้ ก็ต้องรู้จักการสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงานก่อน
หลัง Covid-19 ต้องเตรียมโค้ชผู้บริหารใน 3 ด้านนี้
หลัง Covid-19 ต้องเตรียมโค้ชผู้บริหารใน 3 ด้านนี้
ช่วง lockdown ที่ผ่านมานั้น อย่าลืมว่าเราต้องทำงานไกลกัน และทุกอย่างเป็นการบริหารทางไกล (remote) จากการทำงานแบบ work from home และเมื่อต้องว่างเว้นจากการทำงานปกติไปนาน ปัญหาที่จะเกิดมันจะมีสามด้าน คือ
51 - 60 of 102