71 - 80 of 87
7 สิงหาคม 1974
7 สิงหาคม 1974
7 สิงหาคม 1974 ผู้คนเบื้องล่างตึกเวิลด์เทรด เซ็นเตอร์ ย่านแมนฮัตตัน มหานครนิวยอร์คที่สัญจรไปมาในละแวกนั้นสังเกตเห็น ชายปริศนาคนหนึ่งปรากฎกายอยู่กลางอากาศระหว่างตึกแฝด เขายืนอยู่บนเส้นลวดที่ระดับความสูง 110 ชั้นของตึกที่สูงที่สุดของโลกในขณะนั้น
VUCA World โลกใบใหม่ที่ไร้ทิศทางชัดเจน
VUCA World โลกใบใหม่ที่ไร้ทิศทางชัดเจน
ต้องอยู่อย่างไร? ในโลกใบใหม่ที่ไร้ทิศทางชัดเจน “VUCA WORLD” หรือ โลกยุคใหม่ที่หมุนแร๊งส์และเร็วขึ้นมากนี้ เกิดขึ้นจากการปฏิวัติเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งส่งผลให้นับวัน การเปลี่ยนแปลงยิ่งมีอัตราเร็วสูงขึ้นเรื่อยๆ จนยากที่จะคาดการณ์ได้ว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับโลกในอนาคต
เมื่อโลกหมุน ก็แค่ขยับตามไป
เมื่อโลกหมุน ก็แค่ขยับตามไป
"เศรษฐกิจ ช่วงนี้ไม่ค่อยดีนะครับ" ประโยคแรก ออกจากปากพี่โชเฟอร์แท็กซี่ ทันทีที่รถออกตัว "ครับ" ผมตอบกลางๆ ไว้ก่อน เจตนาเพื่อเลี่ยงบทสนทนา "ที่อาจจะ" ไม่พึงประสงค์ เวลาโดยสารแท็กซี่ ผมเชื่อว่าหลายคนเคยทำเช่นเดียวกัน เพราะหลายหน ถ้าบทสนทนาไม่วกเข้าเรื่องการเมือง ก็ไม่พ้นเรื่อง เศรษฐกิจ ปากท้อง ฯลฯ
3 จุด การสื่อสาร ที่ทำให้งานเร็วขึ้นเยอะ
3 จุด การสื่อสาร ที่ทำให้งานเร็วขึ้นเยอะ
3 การสื่อสารสำคัญ ที่ผลักดันให้งานเร็วฉิว! ยุคนี้ องค์กรไม่สามารถรอผลงานของทีมได้นานแบบยุคก่อนแล้ว เพราะกระแสการเปลี่ยนแปลงเข้ามาอย่างรวดเร็ว หากปรับตัวไม่ทัน ธุรกิจคงต้องถูก Disrupt หายไป
บริษัทซอมบี้
บริษัทซอมบี้
"บริษัทซอมบี้" (Zombie firm) เป็นฉายาของบริษัทไม่สามารถทำกำไร แต่ก็ยังอยู่รอดในธุรกิจได้ แม้ว่าจะอยู่ในแบบครึ่งผีครึ่งคน เป็น Living dead ไปเรื่อยๆ ก็ตาม งานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ของ IMF นิยาม "บริษัทซอมบี้" ไว้ว่า เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการมากกว่า 10 ปี แต่กำไรของบริษัทไม่พอที่จะจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ของแบงก์ได้ต่อเนื่องกัน 3 ปี
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
วงจรการโทษกันแบบ "กบร้องเพราะท้องปวด" มีเพื่ออธิบายเหตุผล ที่มาที่ไปของความผิดพลาดที่ "ดูเหมือนสมเหตุสมผล" แต่ก็ไม่ได้ช่วยให้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ไม่ต่างกับเพลงกบปวดท้อง ที่เริ่มอธิบายปัญหา และวนหาสาเหตุที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ท้ายสุดมันก็วนมาที่จุดเริ่มต้น แล้ววนเป็นลูปใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? เหตุผลของการกระทำแบบนี้ มีคำตอบเดียว คือ เป็นธรรมชาติของคน ที่มักอธิบายทุกสิ่งที่ตนทำไป เพื่อให้ตัวเองรู้สึกดีต่อใจ และดำรงไว้ซึ่งความภูมิใจในตนเอง แม้ว่าคำอธิบายนั้น มันจะไม่สมเหตุสมผลก็ตาม
“Hate speech” คำนินทา ไม่ใช่แค่ดราม่าในออฟฟิศ (ตอนที่ 2)
“Hate speech” คำนินทา ไม่ใช่แค่ดราม่าในออฟฟิศ (ตอนที่ 2)
การนินทานำมาซึ่งความไม่ไว้วางใจ และเมื่อ Trust ถูกทำลาย Engagement ภายในองค์กรก็ยิ่งเสื่อมถอย องค์กรใดไร้ Engagement ก็เปรียบเสมือนคนอยู่บ้านเดียวกันแต่ไม่เข้าใจและไม่สื่อสารกัน
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?" เป็นคำถามสั้นๆ เหมือนตอบไม่ยาก แต่ก็ไม่ง่ายที่จะตอบได้ บางคนจะอยู่กับตัวเองมาหลายสิบปี ก็อาจใช้เวลาเป็นสิบๆ นาที กว่าจะบรรยายได้ว่า ตัวเองเป็นคนแบบไหน นิสัยยังไง?
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
ช่วงแรก ที่ไม่รู้อะไรเลย คนเรารู้ตัวดีว่ายังขาดความรู้ ต่อมา เมื่อเริ่มรู้เล็กน้อย หลายคนจะเกิดอาการ "ร้อนวิชา" และเข้าใจผิดว่า ตัวเองรู้มากเกินกว่าความเป็นจริง ความมั่นใจจะถาโถมเข้ามาจนล้นปรี่ บ้างก็คุยโวจนเป็นที่น่าหมั่นไส้ของเพื่อนๆ
71 - 80 of 87